หลากตำนานธรรมในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 285
หน้าที่ 285 / 374

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้นำเสนอการวิเคราะห์ตำนานธรรมในคัมภีร์พุทธ โบราณ รวมถึงพัฒนาการของการอธิบายลมหายใจตามคำบาลี การหยุดนิ่งของจิตใจ และหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงอรหันต์ โดยยกตัวอย่างการใช้คำเฉพาะเช่น 'นิสาสะ' และ 'นิสสวาต' ซึ่งมีบทบาทสำคัญในพระธรรม คัมภีร์นี้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการฝึกสมาธิและการควบคุมลมหายใจในการพัฒนาจิตใจของผู้ปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ยังมีการอธิบายถึงความหมายและการใช้คำในประเพณีพุทธศาสนาเพื่อให้เข้าใจลักษณะของการปฏิบัติที่ส่งผลต่อการเข้าถึงสภาวะแห่งความสงบ

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ตำนานธรรม
-ลมหายใจในพระพุทธศาสตร์
-การหยุดนิ่งของจิตใจ
-หลักธรรมและการเข้าถึงอรหันต์
-คำเฉพาะในการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลากตำนานธรรมในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยอด ได้ฆ่าป่าธรรมตายในตัวฉบับนี้ คือ ทุจิ มาน โโลโก โทโล ... ให้ ค่อยอนุโลมปฏิโลมด้วยญาณสมาธิถึงอกกมไว้ให้มัน ชื่อ อนาคา มิผลแน เข้าถังโรโลได้หังประตูเมืองงมนุษย์เสียในดังแล้ว ฆ่าป่าธรรมสัตว์คือว่า เมถุนธรรม มันจรียะ กุกกุจ จะ ถินะ ... ให้ ค่อยอนุโลมปฏิโลมด้วยญาณสมาธิเช่นสิงขอชม 213 ฯลฯ เท้ากจองคุม ไว้มัน ชื่อว่าพระอรหันตผล เข้าถังโรโลสัมมาปฏิ214 ได้ฆ่าป่าธรรมตายสัตว์ มิกะ อุณังจะอหิละ อโนตัปปะ อิสิสา ได้ชื่อว่า อรหันต์ 215 สภาพเข้าในโรโลของคัมภีร์สายปฏิบัติธรรมมีลักษณะเด่นชัดในส่วนของการหยุดหรือไม่มีะเสลาแห่งใจ ประเพณีการอธิบายของคัมภีร์จะแบ่งลมหายใจออกเป็น 3 ประเภท โดยใช้ศัพท์ที่บัญญัติตามคำบาลีว่า วาต ซึ่งแปลว่าลม ได้แก่ “ปัสสาวะ” คือ ลมหายใจภายนอก “อัสสสาวะ” คือ ลมหายใจที่เล่นอยู่ภายใน และ “นิสาสะ” คือ ลมหายใจที่อยู่นิ่งไม่มีระแสน คัมภิธิ์พระอานนท์ เรียกลมหายใจนี้ด้วยชื่อ “นิสสวาต” และกล่าวถึงการหยุดนิ่งไม่มีระแสนมหายใจนี้กับบัญชีโรว่า เมื่อจับเอาผ้าสงฆ์มาภูมิขึ้นมาด้วนตัวนั้นให้ระนึก นิสสวาต คือลมหายใจไว้ให้ระนึกอยูในอธิษฐานปลินเปร ตั้งอยู่เป็นดังผ้าสงฆ์พับไว้ดังอยู่ให้หายใจออก ได้ชื่อว่าพระอธิษฐานนิสสวาต เข้าทางนิสสัญญาณสุขุม ไปให้หายใจออก 216
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More