การปรับระหว่างหลักและปฏิบัติในการศึกษาธรรม หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 280
หน้าที่ 280 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการปรับหลักของคำสอนทางปริยัติให้เข้ากับการปฏิบัติ โดยให้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นเกี่ยวกับพระรัตนตรัยและธรรมบริสุทธิ์ อธิบายถึงผลของการปฏิบัติที่ทำให้เกิดความบริสุทธิ์ทั้งกายและใจ เพื่อเข้าถึงธรรมที่แท้จริง รวมถึงการเข้าถึงโสดาและอรหันต์ในลำดับการศึกษา นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์กับธรรมที่ไม่มีการเสื่อม.

หัวข้อประเด็น

-ปฏิบัติกับปริยัติ
-พระรัตนตรัย
-ธรรมบริสุทธิ์
-การเข้าถึงโสดาและอรหันต์
-การปรับหลักและปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผลการปฏิบัติไป "ปรับ" เข้ากับ "หลัก" ของคำสอนทางปริยัติได้ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจที่ดี มุมมองทางปฏิบัติที่แตกต่างจากทางปริยัติอาจศึกษาได้จากข้อความที่ดิฉันอ่านพระธรรมเทศนาหลายวาระต่อไปนี้ พระรัตนตรัยเป็นแก้วจริงๆ หรือเปรียบด้วยแก้ว ถ้าเป็นทางปริยัติเข้าใจตามอักขระแล้วเป็นอันเปรียบด้วยแก้ว ถ้าเป็นทางปฏิบัติเข้าใจตามปฏิบัติแล้วเป็นแก้วจริง ซึ่งบ่งว่าประเสริฐเลิศกว่าสยญาณกรีตนะและอวิญญาณกรีตนะซึ่งมีโตรภาพบรรจุ ตันนะในโตรภาพทั้งหมดสิ้น 195 พระธรรมเทสนอีกวาผะหนึ่งเกี่ยวกับ "ธรรมบริสุทธิ์" มีว่า อันนี้เมื่อบริสุทธิ์ทั้งกาย จาใจ ไม่มีร่องเสียแล้ว นี้เรียกว่าธรรมโดยแท้เป็นทางปฏิบัติ ถ้ากลับเข้าถึงเทนาเจตนาก็บริสุทธิ์ บังคับกายบริสุทธิ์ บังคับจากบริสุทธิ์ บังคับใจบริสุทธิ์ นั้นก็เป็นทางปฏิบัติอยู่เลยยังไม่ใช่ทางปฏิบัติ เข้าถึงทางปฏิบัติเข้าถึงดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ สำเร็จจากบริสุทธิ์กาย วาจา สำเร็จจากบริสุทธิ์เจตนา เป็นดวงใส่เท่า ฟองไข่แดงของไข่ใสเป็นกระจกส่องหน้า เท่าฟองไข่แดงของไข่ นี่ธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ 196 ตัวอย่างข้อความที่กล่าวถึงการปรับ "หลัก" กับปฏิบัติ เข้าถึงโสดา โสดาละเอียด สกทาค สกทาคลาดละเอียด อนาคา อนาคาละเอียด อรหันต์ อรหันตะละเอียด เป็นลำดับไป ไม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More