รากฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 119
หน้าที่ 119 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจรากฐานของธรรมกายผ่านคัมภีร์พุทธโบราณ ที่มีผลงานแปลที่สำคัญจากพระอุบาสิกาเฉิงหยู่และพระโลกฦกษ์ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของการเผยแผ่พุทธศาสนามหายานในจีน โดยเน้นถึงภาพวาดของพระอันชื่อกวาและประวัติศาสตร์การแปลของท่าน ต่างๆ ที่ช่วยสร้างความมั่นคงให้กับพระพุทธศาสนาในประเทศจีน รวมถึงความสำคัญของคณะศิษย์ที่เกี่ยวข้องกับการเผยแผ่ในยุคนั้น

หัวข้อประเด็น

-พระโลกฦกษ์
-คัมภีร์มหายาน
-การแปลคัมภีร์
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในจีน
-พระอันชื่อกวา
-งานแปลในประเทศจีน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

රากฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ อุบาสิกาเฉิงหยู่27 ส่วนพระชาธกษณะได้แก่พระโลกฦกษม28 ได้เน้นการแปลไปที่ คัมภีร์มหายาน งานของท่านเป็นแหล่งคัมภีร์มหายานที่สำคัญของจีนต่อมาอีก ยาวนาน สำหรับพระชาวอาณเดียได้แก่ พระคังจี๋29 และคังเมิ่งเสียง30 ผู้แปล พุทธประวัติเป็นท่านแรก31 นอกจากนี้ยังมีกลุ่มคณะศิษย์ของพระโลกฦกษ์วม เช่นจื่อเสียง32 และท่านธรรมมาปลา33 ชาวแคว้นปัลวัสด34 ของอินเดียเป็นต้น ผลงานของท่านเหล่านี้ส่วนเป็นหลักฐานคัมภีร์ชั้นต้นของจีน35 นับตั้งแต่สมัย ที่พระพุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่และหยั่งรากฐานมั่นคงในประเทศจีน ดังกล่าวไว้แล้วว่าพระอันชื่อกวาได้ก่อตั้งสำนักภาวนาที่มีฐานคำสอน ของหนยานตั้งแต่ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในจีน พระอันชื่อกวอลือดำเนิน ในฐานะกฎกษัตริย์แห่งแคว้นพาร์เรี36 ต่อมาท่านบวชในนิกายสรรวาสติวาท และได้เดินทางมาเผยแผ่พระ ศาสนาย่มหนานครลัวหยางเมือง หลวงแห่งราชวงศ์ชันตะวันออก ท่านได้พักอยู่ในเมืองนี้เป็นเวลาหลายปี37 มีตำแหน่งเป็น หอช่าง หรืออุปาชมายุ38 กล่าวกันว่าผลงานแปลของท่านรวมแล้วมีจำนวน 34 คัมภีร์ (ปรกติ) จำนวน 40 ผูก39 บ้างก็ว่า 176 ผูก40 ภาพวาดพระอันชื่อกวาว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More