ข้อความต้นฉบับในหน้า
สำหรับรูปแบบของสมาธิที่สอนในสำนักงานพระอันชื่อกว่านั้น จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยพระเกียรติศักดิ์ กิตติปญฺโญ พบว่า เป็นหนึ่งในเทคนิคการทำสมาธิของอินเดียโบราณที่เรียกว่า "อานาปนสมาธิ" ในสมัยนั้นพระนักเผยแผ่ต้องประสบกับปัญหาในการเลือกใช้คำศัพท์ที่เหมาะสม จึงหยิบยืมศัพท์เฉพาะทางของตนมาใช้ในการแปลและอธิบายความหมายแนวคิดของพระพุทธศาสนา ศัพท์เฉพาะทางเหล่านี้ พบได้ทั่วๆ ไปในงานแปลของพระอันชื่อกวา๔ ดังเช่นในคัมภีร์ชื่อ "ตัวอ้นปันโสอิ๋ง"๓ หรือ "มหาอานาปสมาธิสูตร" ซึ่งเป็นคัมภีร์หลักคัมภีร์หนึ่งที่ใช้ในการค้นคว้าการปฏิบัติสมาธิวงแบบดังเดิม และเพราะการที่พระอันชื่อกวาได้ผสมผสานเอาคำศัพท์ของเตามาใช้กับพระพุทธศาสนาเอง ทำให้ชาวจีนที่ยิ่งไม่คุ้นเคยกับพระพุทธศาสนา สามารถเข้าใจพระพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น ทั้งเริ่มรู้จักวิธีการทำสมาธิในพระพุทธศาสนาอีกด้วย
ผลงานอีกชิ้นหนึ่งของพระอันชื่อกวา คือตัมภีร์ไตรโยคาร๔ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ท่านแปลอย่างย่อ๕ โดยต้องการให้เป็นคัมภีร์อ่านประกอบสำหรับคัมภีร์อานาปนสมาธิสูตร ซึ่งเน้นไปที่การปฏิบัติสมาธิโดยกำหนดสมาธิเนื่องกับลมหายใจนอกจากงานแปลต่างๆ แล้วพระอันชื่อกว่าวยังได้เรียบเรียงอรรถาของ “อานาปนสมาธิ”๖ ขึ้นโดยตัวท่านเองอีกด้วย๗
ดังกล่าวไว้แล้วข้างต้นว่า คัมภีร์หลักที่ใช้ในการค้นคว้าการปฏิบัติสมาธิวงเดิมนั้นชื่อคัมภีร์ “ตัวอ้นปันโสอิ๋ง” หรือ “มหาอานาปสมาธิสูตร” คัมภีร์นี้สันนิษฐานว่าแต่เดิมเขียนด้วยภาษาคานธรในรวงพุทธศตวรรษที่ ๖ ฯ เป็นคู่มือการปฏิบัตธรรมฉบับย่อ เรียบเรียงโดยพระโโยคาจารแห่งนิกิจกรรม ๕๐ ซึ่งเป็นนิยายนที่มีคำสอนเป็นภาษาสันสกฤต อย่างไรก็ตามตาม