หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 43
หน้าที่ 43 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอการศึกษาหลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโบราณ โดยโฟกัสที่พุทธภูมิและการปฏิบัติธรรมเป็นหลัก กำหนดวิถีทางให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจการตรึกระลึกถึงพระพุทธคุณและพระพุทธประวัติ ตั้งแต่ยุคแรกไปจนถึงการตรัสรู้ธรรม ข้อความสำคัญถูกเชื่อมโยงกับการปฏิบัติธรรมที่เน้นการรวมใจและหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกาย ทำให้ผู้ปฏิบัติสามารถเข้าถึงสภาวะภายในได้อย่างชัดเจน ข้อความอาจมีขาดหายไปบางส่วน แต่หลักการพื้นฐานยังคงชัดเจนในการเชื่อมโยงประวัติของพระพุทธองค์กับการปฏิบัติธรรมในปัจจุบัน สามารถศึกษาต่อได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-พุทธภูมิ
-การปฏิบัติธรรม
-ธรรมะและพุทธคุณ
-คัมภีร์พุทธโบราณ
-ประวัติพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวบงานวิจัยโดยอ้อย ทัศจายามื่ออภาพที่เห็นจากประสบการณ์ภายในออกมาเป็นรูปธรรม จึงเป็นคัมภีร์ที่น่าสนใจควรแก่การศึกษาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ในการศึกษาเบื้องต้นเฉพาะในท่านพุทธาภูมิ องเปรียบเทียบกับการปฏิบัติในวิชธรรมมากได้ดังนี้ พุทธาภูมิที่กล่าวถึงในคัมภีร์เริ่มต้นด้วยการตรึกระลึกถึงพระพุทธคุณ เช่นเดียวกับที่เกรเวานึกถึงพุทธคุณ 9 ประการในบท “อธิบิโส จ” ต่างกัน แต่เพียงว่าทางสรรวาสติอริอทรีกไปถึงพุทธประวัติด้วย เริ่มแต่ครั้งยังเป็นพระบรมโพธิสถิตตั้งปฐมาจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จนกระทั่งจุดลงมาตจากสวรรค์ชั้นดุสิตในพระชาตสุดท้าย ไปถึงการตรัสรู้ธรรมมีพระมหากษัตริยาออกโปรดสัตว์โลก และเสด็จดับขันธบรรพตเป็นที่น่าเสียใจว่า ข้อความขาดหายไปจึงศึกษาไม่ได้ครบท้วน ส่วนหลักการปฏิบัติในวิชาธรรมกายันันั้นเน้นที่การ “รวมใจหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เหนือสะดือขึ้นมา 2 นิ้ว” อายย์บำรบมนิทิ และบำรบภาวนาเป็นเครื่องผูกจิตไว้ที่ศูนย์กลางกาย และเน้นให้มีความสบายเป็นธรรมชาติ ซึ่งในครรลองของพุทธาภูมิจะให้ตรัสระลึกถึงพระพุทธรูปที่คุ้นเคยไว้ที่ศูนย์กลางกายเป็นบรรรมนิกิต และอาศัยคำบรรรมนาวว่า “สัมมาอะระหัง” ให้ออกจากศูนย์กลางกาย สำหรับพุทธประวัตินั้นในการนำปฏิบัติธรรมบางครั้งพระเดชพระคุณพระเทพญาเมนมานุ (พระสุธรรมเมตตา) ก็นำปฏิบัติให้วางใจหยุดยึดอยู่ที่ศูนย์กลางกายก่อน แล้วจึงทบทวนประวัติของพระพุทธองค์ตั้งแต่พชาติโดยในอดีตเรื่อยมาจนถึงการสร้างบารมีในปัจจุบันเช่นเดียวกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More