ข้อความต้นฉบับในหน้า
ด้วยที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ดินแดนคณะธรรเป็นที่รู้จักในกลุ่มนักวิชาการว่าเป็นปากประตูในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างอินเดียกับชนชาติต่างๆ ที่สัญจรและทำการค้าขายบนเส้นทางสายไหมมาแต่โบราณ ดินแดนนี้จึงเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม ในส่วนของพระพุทธศาสนาความหลากหลายดังกล่าวได้สะท้อนออกมาให้เห็น จากเนื้อหาคำสอนที่ปรากฏในคัมภีร์ของนิกายนต่างๆ ที่พบในดินแดนคณะธรรเอง รวมถึงที่พบในเอเชียกลางและประเทศจีน ซึ่งเชื่อว่ารับเอาพระพุทธศาสนาไปจากคณะธรรด้วย
หลักฐานทางคัมภีร์ที่นำมาศึกษาจากดินแดนต่างๆ ดังกล่าวนี้ พบว่ามากกว่าครึ่งเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนามายายนที่หลากหลายด้วยเนื้อหานอกนั้นเป็นคัมภีร์ของพระพุทธศาสนานิกายหลักที่พบผลกันหลายเนื้อหา ส่วนใหญ่เป็นของนิยายสรวสวาสติวาและนิยายธรรมคุปต์ ที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกันกับพระไตรปิฎกบาลีเป็นอย่างมาก และมีบางส่วนเป็นของนิยายมหาสงกะ-โลโกตตรวาท ซึ่งมีคำสอนที่แตกต่างกันไปบ้างแต่ยังรักษาจุดร่วมบางอย่างไว้ คัมภีร์สรามือเขียนที่ศึกษาจากคัมภีร์และเอเชียบางมีอายุของการคัดลอกมาตั้งแต่รวดกลางพุทธศตวรรษที่ 5 (คือประมาณ พ.ศ. 450 เป็นต้นมา) จนถึงพุทธศตวรรษที่ 18-19 ทำให้ประมาณได้ว่าต้นฉบับของคำสอนนั้นๆ น่าจะย้อนโยงได้ถึงพุทธศตวรรษที่ 4 เป็นอย่างช้า
จากการศึกษาได้พบหลักฐานคำว่าธรรมภายปรากฏอยู่ในคัมภีร์เหล่านี้และได้พบร่องรอยวิชาชาญธรรมภายในลักษณะความสอดคล้องทางหลักธรรม อีกทั้งพบหลักฐานความสอดคล้องกับวิชาชาญธรรมภายในเรื่องวิธีปฏิบัติสมาธิวานา หรือในแง่ของประสบการณ์จากการเจริญภาวนา