ข้อความต้นฉบับในหน้า
กัับดวง "จะ" ขึ้นไปข้างบน แล้วจะเห็นดวง "หง" อยู่ตรงบนสุดของการซ้อน ระหว่างดวงแก้วกับศูนย์กลาง ก็จากข้อความที่กล่าวมานั้น หากเปรียบเทียบกับวิชาชาธรรมกายพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้ค้นพบ จะเห็นว่าจาณที่ตั้งของใจมีเหมือนและต่างกับวิชาชาธรรมกายในฐานบางฐานคือ ในส่วนที่ขาดหายไปคือทางคัมภีร์ปฏิบติภาษาขมไม่ได้กล่าวถึงที่ตั้งของใจ 3 ฐานคือ ฐานที่อยู่เพลาต ฐานที่จอมประสาท และศูนย์กลางกายฐานที่ 7 อย่างไรก็ดีตาม การปฏิบัติหาวงแก้วหรืออักษะ "อะ-ระ-หัง" ต่อจากศูนย์กลางก็นับว่าเป็นความสอดคล้องตรงกันกับการปฏิบัติธรรมวิชชา ธรรมกาย ที่เน้นความสำคัญของการวางใจไว้ภายในในช่วงกลางของลำตัว การเห็นดวงจิต และดวงแก้วพระธรรมเจ้าในคัมภีร์พระวิปัสสนาฉบับเดียวกันได้กล่าวถึงเรื่องการเห็นดวงจิตว่าเป็นดวงที่เกิดขึ้นในศูนย์กลางกายระดับเดียวกันสะอาด ดั้งข้อความในคัมภีร์ดังนี้ ตั้งกวานาไปแล้วเห็นจิตนั้นชื่อว่า "ดวงจิต" เห็นดวงจิตนั้นบังเกิดมาจากที่ไหน? ผู้ปฏิบัติว่านั่งกวานาแล้วเห็นบังเกิด ณ ศูนย์กลางกักกลางกายระดับเดียวกันค่ะ คำว่า "จิต" ในภาษาเขมรมหมายถึงธรรมชาติที่สะสมอารมณ์ หรือความคิด ภาษาเขมรไม่มีคำศัพท์สำหรับเรียกตัวจิตว่า "ใจ" ดังนั้นคำว่า "จิต" ที่จาร