ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวบรวมงานวิจัยโดยอ่อ
พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺสโร) กำหนดให้ใช้คำว่าสำหรับบริการ
ภาวนาดวָ่ “สมา อรห” ตามที่ปรากฏในพระธรรมเทวนาคของท่านว่า “ ...
แล้วให้บริการภาวนาประคองบริการนิมิตนั่นไว้ว่า สัมนอะระหัง”203และ
ปรากฎในอีกพระธรรมเทวนาคาหนึ่งว่า “อรห เป็นคำพวกเรานักปฏิบัติธรรม
เชิดชูนันทนา ถึงแก่ได้นำมาใช้ในบทบริการภาวนาในเมื่อยังสมาธิ”
ส่วนในคัมภีร์อธิบธรรมกำหนดให้ใช้คำบาลว่าว่า “อรห” ซึ่งไม่ได้ต่าง
กันในความหมาย ดังข้อความในคัมภีร์พระญาณกสิลอดว่า “...ใจนั่งอยู่รินกว่ายว่า
อรห อรห อรห ให้เป็นดังแสงดาวได้สีเพื่อคือผลทั้งสีแล”205
คำว่า อรห โดยศัพท์แล้วหมายถึงผู้ที่เจริญแล้วด้วยจิต สติ จิต
และปัญญา206 ซึ่งเป็นที่เข้าใจของผู้ปฏิบัติ จึงเป็นปกติที่ทั้งสองฝ่ายจะเลือก
บริการภาวนานี้ร่วมกัน
บริการนิมิต
ผู้ปฏิบัติอาจใช้บริการนิมิตประกอบกับบริการภาวนาในการช่วยให้
จิตนิ่งไม่สับสนียิ่งภายในกำหนดให้ใช้บริการนิมิตเป็นดวงแก้วหรือดวง
เพชรใส มีสิ่งฐานเป็นทรงกลมไม่มีมลทิน สำหรับชั้นโลเกียรธรรมั้น พบว่าใน
กลุ่มคัมภีร์อธิบธรรมได้บรรยายถึงธรรมรามต่างๆ ซึ่งรวมถึงโลกสินหรือ
กลิ่นความว่ำว่า ไวในคัมภีร์อธิบระพันธะผู้ที่สองและผู้ที่สามและในคัมภีร์
มูลสภามูลฐาน (ฉบับล้านนา) โดยไม่ได้เจาะจงให้ใช้ธรรมฐานใดธรรมฐาน
หนึ่งเป็นการเฉพาะ ซึ่งในขั้นนี้การบริการนิมิตตั้งแต่ดวงแก้วใสหรือเพชรลูก
และความสว่างของดวงอาทิตย์หรือดวงดาว ต่างก็สามารถจัดเข้าในกลุ่มส
อกโลกสืนหรือกลิ่นความว่า่ตามที่แจกแจงไว้ในคัมภีร์สุภีรธรรม207
282 | ดร.กิจกชัย เอื้อเกษม