หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธบารมี 1 หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 219
หน้าที่ 219 / 374

สรุปเนื้อหา

คัมภีร์พุทธบารมี 1 กล่าวถึงผลจากการปฏิบัติญาณธรรมที่สามารถนำไปสู่การเข้าถึงญาณและอรหันต์ โดยเป็นภาพรวมของการปฏิบัติสมาธิและประสบการณ์ภายในต่างๆ ผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องรักษาศีลและบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ก่อนเริ่มปฏิบัติสมาธิเพื่อให้จิตสงบและมีสมาธิ. โดยบทสวดอธิษฐานจะช่วยให้ได้รับประสบการณ์ดีจากการปฏิบัติ ทั้งนี้ยังมีการสอนให้ตั้งสติระหว่างการทำสมาธิ และระลึกถึงพระรัตนตรัย โดยมุ่งหวังให้เข้าถึงอริยมรรค อริยผล และนิพพานในที่สุด.

หัวข้อประเด็น

-ปฏิบัติญาณธรรม
-การเข้าถึงอรหันต์
-ประสบการณ์ภายใน
-การรักษาศีล
-การเจริญสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธบารมี 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ คัมภีร์กล่าวถึงผลจากการปฏิบัติญาณธรรว่า เมื่อทำให้จิตถึงขา วิสิษฐปัญญา บังเกิดจะได้ชื่อว่าเป็นปัญญาธรร ซึ่งจะทำให้ปัญญาวิสิษฐา ญาณเกิดพร้อมกันมีสัมมญาณเป็นต้นจนถึงอโลญาณเป็นที่สุด แล้วจึงเข้า ถึงโคตรญาณถึงรธรรม ผล อรหันต์จนได้ถึง “เวียนแก้วคือ อมตมหานคร นิพพาน”10 ทั้งหมดนั้นเป็นภาพกว้างๆ สำหรับการปฏิบสมาธินา นอกจากนั้นคัมภีร์ยังกล่าวถึงประสบการณ์ภายในอื่นๆ ในระหว่างการ ปฏิบติ คือจะได้เห็นปิติธรรม 5 ประการ ได้เห็นอุคคหิมิต ปฏิกิฬนิมิต เกิดอุปจารสมาธิ อัปปนสมาธิและฌานทั้ง 4 อภิญญาทั้ง 5 สมาบัติทั้ง 8 ประการ11 ดังนั้นในบทสวดอธิษฐานก่อนการเจริญนานา จึงมีคำกล่าวขอให้ ได้ดีปีติ อุกฌนิมิต ปฏิกิฬนิมิต สมาธิฌาน อภิญญา อริยมรรค อริยผล และนิพพาน12 หรืออย่างน้อยให้ได้ดีและอุปจารสมาธิ13 คัมภีร์มูลลักษณ์กล่าวว่าผู้ปฏิบัติเนื่องจากจะต้องรักษาศีล 8 ศีล 10 หรืออุปปทิสิกขิตตามเทวะกวะของแต่ละบุคคลแล้ว ยังต้องนำเรืองบูชาอันได้แก่ดอกไม้และเทียนไปบูชาพระ บาท พระธาตุ พระธรรม ตันโฑรี่และเจดีย์ เพื่อขอขมา “แก่ 5 โฐก” คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระกรรมฐาน และ อาจารย์ผู้สอนกรรมฐาน14 จากนั้นให้หาที่สงบเพื่อเริ่มการนั่งปฏิบัติ ซึ่งคัมภีร์ได้ระบุท่านที่เหมาะสมสำหรับชายหญิงและนับวาไว้15 ให้ตั้งสติตรง ต่อกรรมฐาน และให้พนมมือ ตั้งสติพิจารณาถึงทุกในวัฏสงสาร16 พิจารณา มหาสังเวคตุ และเทวทัตภูมุต17 และเทวทัตภูมุต18 เสร็จแล้วเป็นการบูชาพระรัตนตรัย19 และสรรเสริญพระพุทธคุณที่อยู่เหนือหมู่มารทั้งหมด20 จากนั้นคัมภีร์ได้เปรียบ ไปหยุดบุปผากว่างเพื่อให้พึ่งการฝึกสอน เช่นเดียวกับใจของบุคคลที่ต้องผูก ให้มั่นไม่ให้ “จร” ไปได้21 ต่อด้วยการอธิษฐานขอพระพุทธ พระธรรม พระ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More