การดับกิเลสตามพระธรรม หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 286
หน้าที่ 286 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจรายละเอียดเกี่ยวกับการดับกิเลสหรืออาสวะตามคำสอนของพระมงคลเทพมุนี โดยแบ่งการดับกิเลสออกเป็นลำดับที่ชัดเจน ตั้งแต่กิเลสในกายมนุษย์ไปจนถึงกายอรูปพรหม พร้อมทั้งแสดงถึงความสำคัญของนิสสสาวัตรและนิอโร ซึ่งเป็นการถอดกลายใจที่ปราศจากระแสแห่งตัองเอง โดยส่งเสริมแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้หลุดพ้นจากกิเลสและเข้าถึงธรรมกายที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ดับกิเลสในกายมนุษย์
-นิสสสาวัตรและนิอโร
-การเข้าถึงธรรมกาย
-ลำดับการละกิเลสในพุทธธรรม
-ความสำคัญของคำสอนพระมงคลเทพมุนี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนคำบรรลุพุทธธรรมนั้นให้ความสัมพันธ์ระหว่างนิสสสาวัตรกับนิอโรไว้ว่า “ครับ ว่าผู้ใดรู้ชั่ว นิอโรสวาสติให้เป็นนิอโร ก็รู้ตัวพระธรรม” ซึ่งหมายถึงการทำ นิอโรด้วยการถอดกลายใจที่ไม่มีระแสแห่งตัองเอง ส่วนในวิชชาธรรมภายใน พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีกล่าวถึง การดับกิเลสหรืออาสวะของอริบูรณ์เป็นลำดับดังนี้ การละกิเลสของพระองค์หยุดไปเป็นขั้นๆ ตั้งแต่กิเลสใน กายมนุษย์ กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหมเป็นลำดับไป กิเลสในกายมนุษย์ คือ อติภ匙มา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ กิเลสในกายทิพย์ คือ โลกะ โทสะ โมหะ กิเลสในกายอรูปพรหม คือ ราคา โทสะ โมหะ กิเลสในกายอรูปพรหม คือ กามราคานุสัย ปฏิญาณสัย อวิชชานุสัย ต่อแต่นี้ไปจึงซึมเข้าสู่กายหนึ่งคือกายธรรม หรือเรียกว่าธรรมกาย เข้าขั้น โคตรภูจิต เรียกว่า โคตรภูบุคคล โคตรรบุคคลนี้เดินสมาบัติพ่ออร่อยสังจ 4 เป็นอนุโลมภูมิจนหลุดพันจากกิเลสพาสตากฤกฏิวิจิกิจจา สีลัพพตุปรามาสแล้วต ศูนย์ับกลับเป็นพระโสดาบันเป็นอันว่าวพระโสดาบันละกิเลสได้ 3 คือ สักกายทิฏฐิ วิราคจา สีลัพพตุปรามาส แล้วกายโสดาบันนี้เดินสมาบัติพ่ออร่อยสังจ 4 เป็นอนุโลม ปฏิโลมต่อไปถึงจิตสุดละกิเลสได้อีก 2 คือ กามารสะ พยาธิชันหยาบ จึงเลื่อนชั้นขึ้นเป็นสกาทาคามิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More