หลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 235
หน้าที่ 235 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ค้นคว้าเกี่ยวกับคัมภีร์พุทธโบราณ รวมถึงคาถาธรรมภายที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติภาวนา ทั้งยังกล่าวถึงคัมภีร์ภูตสันติและประวัติของคัมภีร์ที่เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความหลากหลายของการศึกษาในพุทธศาสนา สิ่งเหล่านี้ถูกบันทึกไว้โดยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีคาถาที่ใช้ในการปฏิบัติสมาธิวาณเพื่อเสริมศักยภาพในการเข้าถึงธรรม.

หัวข้อประเด็น

-คัมภีร์พุทธโบราณ
-คาถาธรรมภายใน
-การปฏิบัติสมาธิ
-การวิจัยในพุทธศาสนา
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวบงานวิจัยโดยอ๋อ และในตอนท้ายของคาถาธรรมภายนี้มีข้อความระบุชื่อของคาถาไว้ อย่างชัดเจนว่า “คาถาบทนี้ชื่อ ธรรมภาย ขึ้นใจไว้จำเนื่องในนักและ”73ในส่วนที่แนะนำให้ห้องคาถาธรรมภายนั้นจะให้ผลดีแก่ผู้ท่องโดยเฉพาะในด้านปฏิบัติสมาธิวาณ คัมภีร์ธรรมภายใน อักษรธรรมล้านนา ใบบน วัดป่าสตน้อย จังหวัดเชียงใหม่ (สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) อีกคัมภีร์หนึ่งที่ให้ข้อมูลธรรมภายคือคัมภีร์ภูตสันติ ซึ่งประกอบด้วยคาถาภาษาบาลี 272 บทและภาคภาษายวนที่ใช้อ่านว่าวงสันติหรือมหาสันติหลวง74 คัมภีร์นี้พบฉบับที่เขียนด้วยอักษรธรรมลาวซึ่งใช้ชื่อแตกต่างไปเล็กน้อยคือ “อุปเทณิติ” คัมภีร์ฉบับตามตีมมีประวัติในหลักฐานทางมำ่ว่าประพันธ์ขึ้นโดยพระภิกษุล้านนา อาจมีอายุย้อนหลังไปถึงสมัยสงครามล้านนา กับจีนเมื่อปี พ.ศ. 1950 สมัยพระเจ้าสามฝั่งเงน ราชวงศ์มังกรครองราชย์ พ.ศ. 1944-1989 คาถาอุปบาทสันติเป็นที่นิยมไปถึงพม่าใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More