การปฏิบัติและธรรมกาย หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 186
หน้าที่ 186 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเข้าถึงธรรมกายโดยการทำใจหยุดนิ่ง ซึ่งเป็นวิธีการสำคัญในแนวทางปฏิบัติของวิชชาธรรมกายและคัมภีร์พระธรรมมหายาน ผู้ปฏิบัติต้องจรดใจที่ศูนย์กลางกายและทำให้ใจนิ่ง เพื่อให้เข้าถึงดวงธรรมและสัมผัสพระอรหันต์ โดยโยคาวจรจะมีความเพียรในการปฏิบัติสมาธิภาวนาเป็นหลัก.

หัวข้อประเด็น

-การทำสมาธิ
-การเข้าถึงธรรมกาย
-วิชชาธรรมกาย
-พระธรรมมหายาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เที่ยงคืนไม่ลูกสิมาตาก็แจ่มอยู่กับธรรมกายนัน เมื่อคลื่นเข้าส ก็แล้วไป เข้าที่ยืนภายในคลื่นอยู่กับธรรมกาย ตื่นขึ้นก็ติดอยู่ กับดวงธรรมที่ทำให้เป็นธรรมกายนันแจ้งอยู่เสมอ^27 กล่าวได่ว่าทาระลึกถึงธรรมกายอยู่เสมอๆ เป็นนั้น เป็นแนวทางปฏิบัติ ที่ตรงกันของทั้งวิชชาธรรมกายและข้อคำสอนในคัมภีร์พระธรรมมหายาน สำหรับการเข้าสู่ธรรมกายนันในวิชชาธรรมกายมหนทางเดียวคือการทำใจ หยุดใจนิ่ง ซึ่งคือการปฏิบัติสมาธิภาวนานั่นเอง ... ต้องเอาใจของตนไปจรดอยู่ที่ศูนย์กลางกายของตน นัน แล้วทำใจให้หยุด หยุดใจหยุด หนักเข้าไปทุกทีให้คลาย ออก ทำไปจนใจไม่คลายออก ใจนันหยุดหนักเข้าไปทุกที นี้ เป็นทางไปของพระพุทธเจ้าพระอรหันต์ไม่ทางไปของปฐมฌาน ทางไปของปุถุชนไม่หยุด อนจากหยุดนอกจากทางไปของ พระพุทธเจ้าพระอรหันต์ตลอดไม่ใช่ทางไปของปฐม 28 ในคัมภีร์พระธรรมมหายาน มีข้อความว่า "อนพระโยคาวรถกุลบุตรผู้มี ญาณอันแข็งกล้า ซึ่งปรารถนาความเป็นสัพพัญญูพุทธภาวะพิสูจน์ถึงเนืองๆ" คำว่าโยคาวจรหมายถึงผู้มีความเพียรในการปฏิบัติอย่างยิ่งสมาธิ ภาวนา แม้ว่าคัมภีร์จะไม่ได้บอกเจนว่าการปฏิบัติสาธารณะจะเป็นหนทาง เดียวสัพพัญญูพทธภาวนา แต่เมื่อกล่าวถึงโยคาวจรอาจประมาณได้ว่า การ ปฏิบัติสมาธิวานาเป็นหนทางหลักหรือหนทางสำคัญเช่นเดียวกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More