การศึกษาเกี่ยวกับธรรมกายและวิชชาธรรมกาย หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 104
หน้าที่ 104 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมกายที่ไม่มีจุดเริ่มต้นหรือสิ้นสุด รวมถึงการเปรียบเทียบกับคำสอนของพระมงคลเทพมุนี โดยสังเคราะห์จากคัมภีร์โบราณและการวิเคราะห์ความหมายที่แตกต่างกันตามภูมิศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อเข้าใจสภาพและความสำคัญของธรรมกายในสังคมพุทธ

หัวข้อประเด็น

-ธรรมกาย
-วิชชาธรรมกาย
-การเปรียบเทียบคำสอน
-คัมภีร์โบราณ
-สังคมพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมกายนั้น หาจุดเริ่มต้นมิได้ ไม่มีการเกิดไม่มีการตาย ยังคงแน่นอน สงบ ดั่งอยู่รินรค์ บริสุทธิ์ โดยส่วนเดียวปราศจากกองกิเลสทั้งหลาย กอปร ด้วยพุทธภาวะมากว่าเมื่อตรายในแม่ไก่ซึ่งไม่แยกจากกัน รู้เห็นถึงความ หลุดพ้นแต่ลึกถึงกว่าจะคาดคะเนได้ ธรรมกายของตนเองเมื่อยังไม่ หลุดออกจากกองกิเลสหมายเอาตาข้าวสังไรก็ตาม45 สรุปได้ว่าธรรมกายยังไม่หลุดจากกิเลสได้รับการเรียกขานว่าตาถก ครรภะ และจากคัมภีร์สังวาสสูตรช้างต้นเราตราบแล้วว่า ตาถก ครรภะ และอายวิญญาณแยกจากกันไม่ได้ ธรรมกายเองมีก็สภาวะเป็นอายวิญญาณ ทั้งหมดนี้เป็นเครื่องให้เห็นว่าธรรมกายเป็นที่เข้าใจในสังคมพุทธชานน แต่ก็อาจสื่อด้วยชื่อที่เรียกแตกต่างกันออกไปตามสังคมที่ต่างกันด้วยยุคสมัย ภูมิศาสตร์และวัฒนธรรม เราอาจจะเคยได้ยินหรือผ่านตาเรื่องของตาถก ครรภะหรือเรื่องของอายวิญญาณ ศพที่ต่างๆ นั้นหมายถึงธรรมกายหรือ ธรรมกายที่มีก็สภาวุอยู่ด้วยแล้วแต่กรณี และน่าจะเป็นไปได้ว่าศพอื่นๆ ที่ใช้เรียกธรรมกายในทำนองเดียวกันนี้คงมิอา่น้อย การเปรียบเทียบกับคำสอนวิชชาธรรมกาย ดังกล่าวไว้แล้วว่าเมื่อได้รู้ถึงความหมายของธรรมกายจากฐานข้อมูล คัมภีร์โบราณสันสกฤตและปรากฏ รวมถึงการค้นคว้าเพิ่มเติมจาก ข้อความในคัมภีร์ที่เกี่ยวข้องซึ่งได้รับการตรวจชำระจากนักวิชาการต่างๆ แล้ว จะได้เปรียบเทียบกับคำสอนวิชชาธรรมกายของพระเดชพระคุณพระ มงคลเทพมุนี (สด จนทสุโร) เป็นลำดับต่อไป ในกรณีที่พระพุทธเจ้าเป็นผู้ได้ ปัญญาตรัสรู้และเป็นผู้ได้ธรรมกายตามที่ปรากฏในคัมภีร์สราวอภาสุตตรสตร์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More