ความสว่างของธรรมกายในคัมภีร์โบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 74
หน้าที่ 74 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความสว่างของธรรมกายและความสำคัญของการมีศรัทธาในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคัมภีร์โบราณและความรู้เรื่องธรรมกาย เพื่อให้เห็นถึงตัวตนและความชัดเจนของธรรมกายในมุมมองของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะจากอาณาจักรโตำและคัมภีร์ที่สำรวจศึกษาในดินแดนค้นธรร ที่แสดงถึงความเก่าแก่และความสำคัญทางศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ธรรมกาย
-คัมภีร์โบราณ
-ศรัทธาในพระสัมมาสัมพุทธเจ้
-ความสำคัญของแหล่งข้อมูล
-ประวัติศาสตร์ศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

องค์หินได้แผ่นดินก็สร่างหมด เหนื่อตรงจันทร์ตรงวงอาทิตย์ก็สร่างหมดเหินสว่างตลอดหมด ในถ้ำในเหงาในป่าล่องในเสพงตับใดเห็นตลอดหมด149 พระธรรมเทนทั้งสามตัวอย่างที่ยมาประกอบกันสามารถประมวลได้ว่าธรรมกายสว่างใส ธรรมกายมีดวงธรรมที่ทำให้เป็นธรรมกาย และดวงธรรมนันโดยเฉพาะอย่างยิ่งดวงธรรมที่ทำให้เป็นพระองค์ส่องสว่างได้เหนือกว่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ เนื่องจากคัมภีร์โบราณจากอาณจักรโตำ ความสว่างล้องต้องกันของคัมภีร์โบราณและพระธรรมเทนาของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีในเรื่องความสว่างของธรรมกายก็ตาม ในเรื่องความมีศรัทธาอันมั่นคงในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่นำไปสู่การเห็นธรรมกายได้เห็นธรรมกายของพระพุทธเจ้าตาม ย่อมให้เห็นว่าธรรมกายมีตัวตนมีความสว่างไสส่องให้เห็นไปได้ทุกที่ ความเข้าใจและรู้เห็นในเรื่องธรรมกายเช่นนี้เป็นสภาวะ แม้จอธิบายด้วยภาษาและอักษรที่แตกต่างกันแต่ย่อมมีสาระคล้องจองต้องตามกันเสมอ บทสรุป การประมวลข้อมูลจากคัมภีร์ที่สำรวจและศึกษาครั้งนี้พบว่า ภาษาหลักที่ใช้นั้นก็ทำนองของพระพุทธศาสนาในค้นธรรและเอเชียกลางคือ ภาษาคนาธรีและภาษาสันสกฤต150 กลุ่มคัมภีร์ส่วนใหญ่ที่พบในดินแดนค้นธรรมีความเก่าแก่กว่ากลุ่มคัมภีร์ที่พบในแถบเอเชียกลางราว 200 ถึง 300 ปี จึงมีแนวโน้มสนับสนุนว่า ดินแดนค้นธรรเป็นปกประตูหรือเป็นทางผ่านของ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More