แนวทางการปฏิบัติธรรมและกรรมฐานต่างๆ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 233
หน้าที่ 233 / 374

สรุปเนื้อหา

ในกระบวนการปฏิบัติธรรม ผู้ปฏิบัติต้องเริ่มด้วยการเข้าใจและภาวนาเกี่ยวกับทุกข์ อนิจจัง อนัตตา ผ่านกรรมฐาน 40 ประการ เช่น มรณสติ อุปสมานุสติ เพื่อเข้าใจไตรลักษณ์ การปฏิบัติจะนำไปสู่การได้รับอุคคหนิมิตและปฏิวาณนิมิต โดยมุ่งหวังเดินทางต่อไปยังอริยมรรคและอริผลตามคำบรรยายในคัมภีร์ต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติสามารถเข้าถึงความจริงและการมีสติในการใช้ชีวิตอย่างมีประโยชน์

หัวข้อประเด็น

-แนวทางการปฏิบัติธรรม
-กรรมฐานที่สำคัญ
-การทำความเข้าใจทุกข์
-อริยมรรค
-ไตรลักษณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่ก่อนที่จะปฏิบัตึงขึ้นเข้าสู่โรงได้ ผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องภาวนาด้วยการสักถึง ทุกข์ อนิจจัง อนตาถา70 โดยผ่านอฤษฎีเป็นรูปธรรมต่างๆ รอบตัวนั้นเคย เช่นส่วนประกอบของร่างกายต่างๆ 32 ประการหรือวัตถุติดสักแนง ซึ่งนับเป็น ภายตาศติร์ปแบบหนึ่ง จากนั้นคัมภีร์ก็กล่าวไว้ว่า “...ปัญญามาพิจารณาเห็น ทุกข์จะละแล้ว...กระทำโรให้แจ้งปลงสัญญาลสู่สายลักษณ์สัญญาณนั้นและ” ซึ่งอาจสรุปได้ว่าผู้ปฏิบัติให้ได้โลกรธรรจะต้องทำโร ซึ่งสภาะขาดจากการสัมผัสภายนอกได้อย่างสิ้นเชิง จึงจะก้าวต่อไปยังอริยมรรครอริผลดังบรรยายไว้ข้างต้นได้ นอกจากภายในจากภายในแล้วคัมภีร์บัวระพันธะยังบรรยายถึงกรรมฐานอื่นๆ อีก เช่น มรณสติ อุปสมานุสติ จตุรฺวัฏฐาน อาหารเจริกิษสรัญ จนแทบจะครบทั้ง 40 กรรมฐานแต่เป็นการกล่าวโดยอ้อม ประสงค์จะให้ครอบคลุมประเภทของกรรมฐานให้มากที่สุด ซึ่งทั้งหมดให้พิจารณาด้วยไตรลักษณ์สัญญา ผลจากการปฏิบัติจึงจะได้อุคคหนิมิตและปฏิวาณนิมิต จากนั้นก็เข้าสู่โรงและ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More