ข้อความต้นฉบับในหน้า
เป็นลักษณะของพระพุทธเจ้า บุคคลผู้ปรากฏสัปพุทธยภาวะพิงสะกิดถึง โดยเสมอเพื่อใด้ดังปรารถนานั้น โดยยืนนี้ธรรมภายในคัมภีร์สายปฏิบัติ จึงเป็นทั้งกรรมฐานในการปฏิบัติจากสมาธิปิฐ และเป็นทั้ง ผลสำเร็จของการปฏิบัติสมาธิภาวนา แต่เนื่องจากพบในกลุ่มคัมภีร์ที่ศึกษาอยู่ เพียงกายเดียวคือธรรมภายของพระพุทธเจ้า ไม่มีธรรมภายของโลสถาน สภาท คามิ หรืออนาคามี จึงไม่อาจกล่าวได้ว่าธรรมภายเป็นทางผ่านจากระดับหนึ่ง ไปสู่ธรรมภายสูงกว่านั้นอย่างไร้ตามพบว่าในคัมภีร์วะพนธ์จะมีการบรรยายถึงสิ่งที่อาจฉันได้ ว่าเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งของพระพุทธเจ้า สิ่งนั้นคือบัญชิติว่า “พระยานาคสัม”
การนี้คือว่า ดาวเดือนพระอาทิตย์ให้หลับตาเห็นดู เมื่อมึงเมื่อนอนนั้นได้ชื่อว่าดึงพระพุทธเจแล เจ้าที่ให้พระยานาคสัม ลงมารับเอายังบุคคลผู้หลับตามาเห็นพระยานาคสัม อันส่องแจ้งดังแสงพระอาทิตย์ ในทางมรรคสั้นแลง
คำว่าพระยานาคสัมนี้สามารถปรับเขียนเสียใหม่ พร้อมกับวันวรรคตอนให้เหมาะสม จะได้คำใหม่อ่านได้ว่า “พระญาณกสิณ” ซึ่งคือชื่อของหนึ่งในคัมภีร์ที่ใช้งานวิจัยนี้ และเมื่อสอบหาในคัมภีร์พระญาณกสิณก็พบข้อความที่ให้ความหมายของพระญาณกสิณว่า ...ให้อยู่ในศีลนั้นทั้งสิ้นนี้เป็นหนทางมรรคสี่สี่ ชื่อว่า พระญาณกสิณแล พระพุทธเจ้าอยู่ในนิพพานสั่งแจ้งผลญาณ