การศึกษาหลักการปฏิบัติสมาธิวาณาจากคัมภีร์จีน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 14
หน้าที่ 14 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาหลักการปฏิบัติสมาธิวาณาจากคัมภีร์ภาษาจีน โดยเน้นการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในจีนตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 และการศึกษาสมาธิแบบมหายาน ซึ่งสะท้อนผ่านประสบการณ์ในการปฏิบัติ รวมถึงการศึกษาจากคัมภีร์ในท้องถิ่นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการตีความคาถาบาลีเพื่อแสดงถึงพระธรรมภายใน

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติสมาธิ
-คัมภีร์จีน
-พุทธศาสนาในจีน
-มหายาน
-ธรรมปฏิบัติ
-คัมภีร์ท้องถิ่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระเกียรติดีกดี คิดตินปัญญา ได้ค้นคว้าหลักการปฏิบัติสมาธิวาณา จากคัมภีร์ภาษาจีน โดยเน้นผลงานที่แปลเป็นภาษาจีนของพระภิกษุจากเอเชียกลาง และดินแดนต่างๆ ของอินเดีย ที่เริ่มนำพระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแพร่ในประเทศจีนราวพุทธศตวรรษที่ 6 และพบว่าคัมภีร์ได้กล่าวถึงการปฏิบัติสมาธิของสาวกยานแบบมหายอจี (อานาปานสติ) โดยเขาทำสมาธิอยู่นั้นผู้ปฏิบัติมีความตั้งใจที่จะหาภูตรูปเดิม ซึ่งใกล้เคียงกับตำแหน่งฐานะ 7 ที่ตั้งอยู่ระหว่างกลาง ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ ภายในกายของผู้ปฏิบัติ ตามที่พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้สอนไว้ ในส่วนของคัมภีร์การปฏิบัติสมาธิวาณาที่เก่าแก่ที่สุดของมหายาน ก็พบเนื้อความว่าผู้ปฏิบัติใจหยุดนิ่งจะสามารถเข้าถึงประสบการณ์ เห็นพระพุทธเจ้าจำนวนมากมายดุจทะเลองค์พระได้ นับเป็นธรรมปฏิบัติที่สืบทอดผ่านกาลเวลามาโดยไม่เปลี่ยนแปลง ที่กล่าวไว้แล้วนั้นเป็นการค้นคว้าจากหลักฐานฝาเอเชียกลางและจีน สำหรับหลักฐานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีนักษัตรอีกกลุ่มหนึ่งทำการศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ท้องถิ่นในเวลาเดียวกัน พระครูวิเทศสุธรรมญาณวิ (สุธรรม สุทธโม) และคณะได้ร่วมกันศึกษาคัมภีร์ “ธัมมกายา” ฉบับเทพบูชมนุม อักษรขอมไทย ซึ่งเป็นฉบับที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ประจำพระเชตุพนฯ มีคาถาบาลีแสดงถึงพระธรรมภายในของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยปกติอไปด้วยญาณ ตรัสรู้ต่างๆ พร้อมกับอธิบายถึงพระญาณต่างๆ นั้น ในนักวิจัยได้แสดงที่มาของคาถาพระธรรมภาย ซึ่งปรากฏอยู่ในอรรถกถามโนราณปุริส และสรุปว่าพระธรรมภายที่ประกอบไปด้วยญาณตรัสรู้ต่างๆ นั้น เป็นหลักธรรมของเณรอธาอย่างแท้จริง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More