ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อความจากภาพเป็นภาษาไทย มีเนื้อหาดังนี้:
ข้อความข้างต้นอาจมีความหมายว่าธรรมกายไม่สามารถเห็นได้โดยทั่วไป ผู้เห็นธรรมกายได้ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ ในที่นี่พระสุทธิธะมีศรัทธาในพระพุทธเจ้าจึงเห็นธรรมกายได้
เมื่อเทียบกับวิชชาธรรมกายตามที่พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโล) ได้เทศนาไว้ พบว่าท่านได้ เคยเทศนั่งการเห็นธรรมกายในลักษณะดังกล่าว แต่ก่อนที่จะไปถึงพระธรรมเทสนั้นขอทำความเข้าใจในเบื้องต้นว่า พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้ใช้คำไท่ว่า "ความเชื่อ" ในความหมายเดียวกันกับคำบาล่ว่า "ศรัทธา" และคำสถกฎว่า "ศรัทธา" โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ท่านกล่าวถึงความเชื่อที่ไม่หวั่นไหว ดังข้อความที่ท่านกล่าวเทียบบาลีกับคำไทยว่า "ยสส สุทธา" ตกาลเต อจลา สุขวิทฺธา ความเชื่อไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่ด้วยดีแล้วในพระตกตเจ้า มืออุ่นแก่บุคคลใด ส่วนผลของการมีความเชื่อหรือมีศรัทธาอย่างไม่หวั่นไหวในพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้มีพระธรรมเทศนาว่า
ความเชื่อนั้นแหล่ให้รักษาไว้ให้มั่นในข้นสนฺนาน ชื่อ "อจลา" ไม่กลับกลอก ความเชื่อที่ไม่กลับกลอกนั่นมันคือดั้แล้วในพระตกตเจ้ามือแก่บุคคลใด ความเชื่อนั้นควรสำทับให้แน่นอนไว้ในใจ ความเชื่อเป็นตัวสำคัญในปฏิบัติศาสนา ถ้าความเชื่อนี้ไม่แน่นอน อย่างแน่งคนเคานแล้วจะเอาตัวรอดไม่ได ถ้าความเชื่อไม่แน่นไม่ค่อยแน่นแน่นแล้วจะเอาตัวรอด... นี่รักษาความจริงไว้ได้ได้ชื่อว่าความเชื่ออันนั้นไม่งอนแน่น คลองแน่นมันด้วยดีแล้วในพระตกตเจ้า “ถมูกาโย อห”
บทที่ 1 เรื่องรอยธรรมในคัมภีร์ภาษาคทธาและภาษาสันสกฤต | 71