หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 325
หน้าที่ 325 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการสอนพระกรรมฐานแบบโบราณที่ปรากฏในคัมภีร์พุทธโบราณ โดยเน้นที่สัญลักษณ์จากพระอักขระและฐานทั้ง 5 ที่ตั้งของกลางกาย อาจารย์จะใช้ปริศนาธรรมในกระบวนการเรียนการสอน ช่วยให้ลูกศิษย์ได้เรียนรู้และสัมผัสประสบการณ์ทางธรรมโดยตรง และจะมีการสอบถามและอธิบายตามประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อให้แน่ใจว่าการปฏิบัติดังกล่าวถูกต้องตามหลักธรรม

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโบราณ
-การสอนพระกรรมฐานแบบโบราณ
-ปริศนาธรรมและการปฏิบัติธรรม
-พระอักขระและฐานทั้ง 5
-ประสบการณ์ในการปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยอ๋อ พระอักขระตัว “ธ” และฐานที่ 5 ศูนย์กลางก้มของกลางกาย เป็นที่ตั้งพระอักษรตัว “ยะ” ในหนังสือการสอนพระกรรมฐานแบบโบราณของวัดมูนิสุวรรณบันทึกว่า น-โม-พุทธ-ยะ เป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัทท์กับนี้ ทรงประทับอยู่ภายในกายเราตรงที่ตั้งของฐานทั้ง 5 ฐานนั้น นอกจากนี้ยังบอกว่า น-โม-พุทธ-ยะ เป็นคำกล่าวนา และเป็นสัญลักษณ์แทนปีติมั่น 5 องค์เช่นกัน ดังเช่นตัวอย่าง อาจารย์บอกว่าท่านเวลาสอนพระกรรมฐานจะบอกลูกศิษย์ในเชิงปริศนาธรรมว่า วันนี้ไปตัว “น” ภายในตัวให้พบ ตัว “น” ที่อาจารย์ท่านว่ามายึดถึง ให้ไปหาพระขุดดาบใส่ปีติข้อนในปีติทั้ง 5 องค์นี้เอง ส่วนในคัมภีร์ว่ารวมพูลพระกัมมัฏน-โม-พุทธ-รา-ยะ จะหมายถึงดงสีบ 5 ดงบั้นต้น วิธีการสอนกรรมฐานแบบโบราณครูผู้สอนจะสอนในลักษณะปริศนาธรรม คือท่านจะไม่อธิบายละเอียดให้เชยถามก่อนเลย ว่าเวลานั่งสมาธิไปแล้วจะพบประสบการณ์อะไรบ้าง แต่ท่านจะให้ลูกศิษย์เรียนรู้และมีประสบการณ์โดยตรงด้วยตนเอง และเมื่อเกิดประสบการณ์จากการปฏิบัตินั้นแล้ว ท่านจะสอนอารมณ์ทุกวันในช่วงเวลาทำวัตรเย็น เพื่อสอบว่า ประสบการณ์ที่ได้รับนั้น ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพียงใด หากไม่ตรงท่านจะเแนะนำตัวต่อ ตัวหากมีศีติผิดหรือสงสัยในข้อปฏิบัติ ท่านก็จะอธิบายให้ทราบโดยตรงในช่วงดังกล่าวนั้นเอง หน้า 324 | ดร. กิจชัย เอื้อเกษม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More