พระโพธสัตว์และหลักธรรมในพุทธศาสนา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 70
หน้าที่ 70 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเกี่ยวกับพระโพธสัตว์ในพุทธศาสนา โดยเฉพาะการเปรียบเทียบความสำคัญของพระโพธสัตว์ในแนวทางมหายานและเงาว. ทั้งสองฝ่ายต่างมีหลักการที่โดดเด่น แต่ยังคงร่วมอยู่ในกรอบของหลักธรรมเดียวกัน. นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับท่านวิลเลียนเกียรติ และการสนทนาธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษา.

หัวข้อประเด็น

-พระโพธสัตว์
-พุทธศาสนา
-มหายาน
-เงาว
-หลักอริยสัตว์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

โพรสิทธ์เพื่อที่จะได้ช่วยปลดเปลื้องทุกข์ของสัตว์โลกได้กว้างขวาง พระโพธสัตว์หมายถึงผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งในฝ่ายเงาวก็กรีบรอง แต่ฝ่ายมาหายานหยิบยกเอาเรื่องพระโพธสัตว์ขึ้นมาเน้นเป็นพิเศษ ฝ่ายเงาว่าประกาศเรื่องหลักอริยสัตว์ 4 เป็นสำคัญ แต่ฝ่ายมหายานประกาศเรื่องศบรมเป็นสำคัญ ทั้งนี้ได้หมายความว่าฝ่ายเงาวาจะไม่มีเรื่องศบรมมีหรือฝ่ายมหายานจะไม่มีหลักอริยสัตว์หาไม่ เป็นเพียงแต่ว่า ต่างฝ่ายต่างหยิบเอาหลักธรรมทั้ง 2 มายกขึ้นเป็นจุดเด่นสำคัญเหนือหลักธรรมข้ออื่นๆ ที่มีอยู่เท่านั้น ข้อความในวิลเลียนเกียรติทดสอบสูตรนี้เป็นการบรรยายธรรมของมหาวาสือมิลเกียรติ การบรรยายธรรมโดยมหาวาสือมิลเกียรติปรากฏอยู่ในพระบาลีเช่นกัน ดังจะขอทยอยข้อความของท่านเสถียร โพรินณะประกอบความเข้าใจอีกครั้งหนึ่งดังนี้ ข้อที่ควรสังเกตข้อหนึ่งเกี่ยวกับบุคลิกลักษณะและปฏิปทาของท่านวิลเลียนเกียรติ มีส่วนคล้ายคลึงกับท่านจิตติ คุญชดีในปรอณฝ่ายบาลีมาก ท่านจิตติคุญดีเป็นชาวมัวฉี กาศันทะนคร ได้บรรลอาณาคามผลมีปัญญาปฏิภาณแตกฉานในอรรถธรรม ได้รับย่อมเป็นอุบาสกผู้เลิศในทางแสดงธรรม ท่านชอบสนทนาปัญหาธรรม ที่สุมุกลักกับพระเถรานุเคราะห์ เสมอ ในใบสังฆุตุงติกย รวบรวมเรื่องราวข้อสนทนาธรรมของท่านไวหมดหน่วย เรียกว่าจิตติคุญดีปฐสังยู ด จะเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More