หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 261
หน้าที่ 261 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ โดยเน้นความสำคัญของวิญญาณและธาตุในเชิงปฏิบัติสมาธิภาวนา รวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างอากาศและจิต ตามคำสอนของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) แสดงให้เห็นความสำคัญในการเข้าใจและปฏิบัติตามคำสอนเพื่อให้เกิดการเข้าถึงธรรมะและการทำสมาธิอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงหลักการที่ว่าด้วยธาตุและวิญญาณขันธ์ที่มีความสัมพันธ์สำคัญในกระบวนการปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรมกาย
-วิญญาณขันธ์
-ธาตุในสมาธิ
-คัมภีร์พุทธโบราณ
-การพัฒนาธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ ๑ ฉบับรวบรวมงานวิจัยโดยอธิ ในร่างเรานั้นแล เมื่อจตุฤทธิย่ออยู่ร่างเรานั้นนกุตั้ววัดดังนั้น มัน ให้เวียนเกิดเวียนตายอยู่มีแล้วเลย ครั้นว่าประจุ่งเสียดแล้ว ปีลงมาเกิดเมืองลุ่มแล138 ความสำคัญของวิญญาณขั้นรับปรกูในคัมภีร์สายปฏิบัติธรรมว่ วิญญาณขันธ์ได้แก่กามส รองพระธรรมเจ้า ไว้ พระธรรม รองพระพุทธเจ้าไว้แล139 คัมภีร์บัวเราะพันธะยังกล่าวว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ที่เข้าสู่พุพบ “เที่ยรงอามาวนาแต่วิญญาณขันธ์คือ อากาศนิโรสงามจิตนันแล”140 คัมภีร์พระญาณกล่าวเสริมว่าวิญญาณ ขันธ์คืออากาศราตุึ่งรองรับพระธรรม และพระธรรมรองรับพระพุทธเจ้าอีกทีก จึงกล่าวได้อ่าวอากาศตเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนาสุพนพ ในส่วนที่ว่าด้วยธาตุในเชิงปฏิบัติสมาธิภาวนานั้น พระเดชพระคุณพระ มงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) ได้ใช้ภาพประกอบการสอนการทำสมาธิอยู่ทางา หนึ่ง ภาพดังกล่าวเป็นภาพด้านตัดของช่วงกลางท้องบุคคล141 มีมกขิ่ง อยู่กลางภาพ มีวงกลมขนาดเล็กอยู่ที่ปลายทั้งสองของกนากบาท และมีวงกลม ขนาดเล็กอีกวงตั้งอยู่กลางกากบาท วงกลมที่ปลายกากบาททั้งสีแสดงถึงธาตุ สี แม้ว่าจะไม่มีข้อมูลว่าธาตุใดหมายถึงธาตุใด แต่องค์กมที่อยู่กลางกากบาท ถูกระบ่ว่าเป็นอากาศต ซึ่งก็คือศูนย์กลางของหัวใจที่ตั้งของจิต และเป็น วิญญาณธาต142 เป็นเส้นทางเดินทางของใจ และเป็นที่หมายในกระบวนการ สมาธิวนาธรรมกาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More