ข้อความต้นฉบับในหน้า
จากเนื้อหาในภาพอ่านได้ว่า:
จากนั้นเนื้อหาในคัมภีร์เดียวกัน ได้กล่าวถึง “ดวงแก้วธรรมเจ้า” ว่าเป็นดวงที่เกิดจากการทำภาวนา โดยเอาพระ “อะ-ระ-หัง” มาผูกกับจิต แล้วเอาจิตนั้นมาผูกกับดวงแก้ว ดวงแก้วจึงมั่นคงไม่ย่อยหายไปไหน เนื้อหานั้นกล่าวดังนี้
เมื่อจิตผูกกับดวงแก้ว ดวงแก้วนั้นมีชื่อว่า “พระธรรมเจ้า”
จิตนันได้มาจากการทำภาวนา ทำภาวนาโดยพระ “อะ-ระ-หัง”
จิตจึงมาอยู่ หากไม่ได้ตั้งภาวนาโดยพระ “อะ-ระ-หัง” จิตนั้นย่อมไม่ได้มาศูนย์ การภาวนาเอาพระ “อะ-ระ-หัง” มาผูกจิตจึงทำให้จิตสามารถถอดได้...เพราะจิตถูกผูกติดกับดวงแก้วจิตจึงไม่อาจไปไหนอื่นได้ ดวงแก้วนั้นมีชื่อว่า “พระธรรมเจ้า”
14
กระบวนการเห็นธรรมที่ปรากฏในคัมภีร์นี้ได้แสดงการเข้าถึงธรรมภายในเป็นลำดับว่า ช่วงแรกผู้ปฏิบัติได้เห็นจิตของตนก่อน จากนี้จึงทราบว่าจิตที่เห็นนั้นเรียกว่าดวงจิต เป็นดวงจิตที่บังเกิดขึ้นที่ศูนย์กลางกายอยู่แนวเดียวกับสะดือ จากนั้นปฏิบติสมาธิต่ออีกโดยเอาใจมาจรดกับดวงแก้วและภาวนาพระ “อะ-ระ-หัง” ที่กลางดวงจิตนั้นจนได้ตั้งมั่น จากนั้นจึงเห็นดวงธรรมดิิดดวงหนึ่ง ซึ่งผู้ปฏิบัติเยกว่า “ดวงแก้วพระธรรมเจ้า”
กล่าวโดยสรุป การปฏิบัติธรรมตามแนวทางในคัมภีร์นี้ลำภาเขมนี้มีผลให้ผู้ปฏิบัติสามารถเห็นสวรรธรรมที่เป็นรูปธรรมได้ กล่าวคือได้เห็นธรรมในลักษณะเป็นดวงๆ จึงอาจเรียกว่าเป็นร่องรอยของวิชชาธรรมกายประการหนึ่งในประเด็นเรื่องศูนย์กลางกายและดวงธรรมานุตาสนาสติปฏิรูป ซึ่งคัมภีร์ใบลานเขมรเรียกต่างออกไปว่า “ดวงพระธรรมเจ้า”