การตีความธรรมกายในพระพุทธศาสนา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 178
หน้าที่ 178 / 374

สรุปเนื้อหา

ในคัมภีร์ธัมมกายาทิ ได้กล่าวถึงคุณสมบัติต่างๆ ของพระพุทธเจ้า โดยอ้างถึงจัญญุ 5 ประการที่ประกอบด้วย ปัญญาจัญญุ, สมมัตจัญญุ, และธรรมจัญญุ ซึ่งแตกต่างจากกายภายนอก การเร่งรัดความหมายในธรรมกายโดยใช้จิตใจทั้ง 5 ประการและอุปปัติฤๅญาณ แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของธรรมภายในที่พระพุทธเจ้าทรงมีในฐานะธรรมแห่งการหลุดพ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปความหมายของธรรมกาย

หัวข้อประเด็น

-คุณสมบัติของพระพุทธเจ้า
-จัญญุ 5 ประการ
-ธรรมภายใน
-การแสดงธรรม
-การหลุดพ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในคัมภีร์ธัมมกายาทิ จัดชุของพระธรรมกายประกอบด้วยทีพจัญวจ ปัญญาจัญญุ สมมัตจัญญุ พุทโธจัญญุ และธรรมจัญญุ แต่ในพระบาลีสุขทุกนิกาย กล่าวถึงพระจัญญุ 5 ประการของพระพุทธเจ้าไว้ว่าได้แก่ มัจฉฤๅจัญญุ ทิพพจัญญุ ปัญญาจัญญุ สมมัตจัญญุ14 การมังสัจจูไม่ปรากฏในธรรมกาย แสดงให้เห็นว่า ธรรมกายซึ่งเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งของพระพุทธเจ้ แตกต่างจากรูปภายนอกของพระพุทธเจ้าและการมีธรรมจัญญุแสดงความเป็นกายแห่งธรรมอย่างนี้นัยสำคัญ กล่าวคือพระพุทธแลกแจงคุณสมบัติเฉพาะในรูปกายพระพุทธเจ้า แต่พระภิกษะพระธัมมกายซึ่งเป็นคัมภีร์สายปฎิบัติ14 แสดงคุณสมบัติธรรมภายในของพระพุทธเจ้า อันเป็นการแจงธรรมภายในด้วยจติฏ 5 ประการนี้ ยังเป็นการปฏิวัติความหมายของธรรมกายว่าเป็นหมวดหมู่แห่งธรรมอย่างชัดเจน ส่วนอุปปัติฤๅญาณหรือญาณที่ไม่มีสิ่งใดขัดขวางนั้ม พบในอรรถถถกโมนฤฅฐิ่งที่กล่าวไว้แล้ว และปรากฏพร้อมนีย"ยิบในคณาญสีชื่อธารณปรีด ซึ่งแต่งเป็นคาถา 12 บาท16 กล่าวถึงอุปปัญญาหรือพระญาณรุ้แจ้งในอดีต อนาคต และปัจจุบัน ด้วยพระญาณนี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงสื่อมอ ในความมุ่งมั่น (ฉันท) การแสดงธรรม (อุมเมสถานา) วิริยะ วิบาสนา มสุข และความหลุดพ้น (วิญฺฎิต) พระพุทธองค์ทรงพระญาณนี้เป็นเครื่องนำในกายกรรมวิกิจธรรม และมนิธรรมทั้งปวงของพระองค์ องค์บันพาคาบรรยายพุทธลักษณะกับพระญาณต่างๆ เฉพาะในคัมภีร์โมนฤฎฐินีบัณฑิตยามและพม่า นี้อาจเป็นร่องรอยการหายไปหรือไม่เป็นที่รู้จักในธรรมกายหรือกายธรรมของพระพุทธเจ้า โดยที่บันพยามและพม่ายังคงรักษาไว้ได้เพียงฝ่ายเดียวและหายไปจากอรรถถกสิงหล หรือใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More