การเปรียบเทียบวิธีการเข้าถึงธรรมะ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 64
หน้าที่ 64 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เปรียบเทียบวิธีการเข้าไปสู่ธรรมะตกับวิชชาธรรมกาย โดยเน้นการหยุดใจไปที่กลางกายเพื่อพบดวงธรรมและพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังพูดถึงการสกัดพระสูตรนี้ซึ่งอาจตีความได้ว่าเป็นการรู้เห็นและเข้าใจหลักของอายตนะ การเข้าสู่ผู้รู้ภายในและการต่อสู้พระโพธิญาณ อีกทั้งยังมีการพูดถึงธรรมวิธีสูตรซึ่งเป็นพระสูตรมหายานที่นำไปสู่การตรัสรู้และธรรมที่เข้าถึงจากการตรัสรู้

หัวข้อประเด็น

-วิธีการเข้าถึงธรรมะ
-การหยุดใจและดวงธรรม
-พระสูตรมหายาน
-การสกัดพระสูตร
-อายตนะและการรู้ภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เมื่อเปรียบเทียบวิธีการ “เข้าไปสู่ธรรมะต” กับวิชชาธรรมกายแล้ว หากการเข้าไป “ภายใน” พระสุุปหมายถึงการหยุดใจเข้าไปในกลางกายและพบดวงธรรมได้เห็นพระพุทธเจ้าอยู่ในดวงธรรม จุดข้อความนี้จึงนับได้ว่าเป็น “รองรอยธรรมภายใน” ชิ้นหนึ่ง ที่กล่าวถึงการเข้าสู่ดวงธรรมและองค์พระโดยการแสดงอุปมาและใช้ศัพท์เรียกขนแตกต่างกัน ดังกล่าวไว้อย่างต้นแล้วว่าคำภรนี้อธิบายถึงความผูกพันกับอายตนะทั้ง 6 ของมนุษย์ 130 ข้อความที่มายถึงการ “สกัดพระสูตรนี้” ก็อาจตีความได้ว่าการ “สกัดพระสูตร” เป็นการอุปมากถึงการรู้เห็นและเข้าใจหลักของ ขั้น อายตนะ ฯลฯ อันเป็นผลจากการเข้าสู่ “ผู้รู้ภายใน” ดังนั้น การ “สกัดพระสูตร” ในความหมายนี้จึงสัมพันธ์กับการเข้าสิ่งธรรมภายในและการต่อสู้พระโพธิญาณโดยตรง ธรรมวิธีสูตร131 เป็นพระสูตรมหายานขนาดสั้นรวบหัวข้อธรรมะที่นำไปสู่การตรัสรู้และธรรมที่เข้าถึงจากการตรัสรู้ คำภีร์เขียนเป็นภาษาสัณสนกถก ทางตอนเหนือทะเลทรายทัลลามากับแถบเมืองกุซา และ เทอร์ฟาน และพบทตอนใต้ของทะเลทรายเดียวกันแถบเมืองโจตัน ประมาณอายุคัมภีร์อยู่ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 12-14 นอกจากนี่ยังพบคัมภีร์ที่เขียนเป็นภาษาไทนตอนโบราณอายุประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 11-13 และพบว่ามีคัมภีร์ฉบับที่เขียนเป็นภาษาจีนอีด้วย เนื้อหาคัมภีร์ที่ใช้ในการศึกษาเป็นของฉบับภาษา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More