พระธรรมปฏิญาณฉบับแปล ภาค ๑ หน้า 74 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 254

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์คำสอนในพระธรรมปฏิญาณ กรณีเกี่ยวกับการเป็นเณร และนักปฏิบัติธรรม โดยเน้นถึงคุณสมบัติที่แท้จริงของผู้มีปัญญา บทความกล่าวถึงการทรงจำในธรรม และความสำคัญของพระธรรมที่จะทำให้บุคคลเป็นผู้ไม่เบียดเบียน มุ่งเน้นที่ความเข้าใจในอาการ ๑๖ และโลภธรรม ๘ อย่าง ที่มีผลต่อการเจริญในธรรมะ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของการเป็นเณร
- คุณสมบัติของบุคคลในธรรม
- การทำความเข้าใจในพระธรรม
- อาการ ๑๖ และโลภธรรม ๘

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปฏิญาณฉบับแปล ภาค ๑ หน้า 74 ผู้ใดแทงตลอดลั่งต่อหลายแล้ว ตั้งอยู่ในความเป็นผู้ไม่เบียดเบียนมหาชน ผู้ว่าเป็นเณร ดังนี้แล้ว ได้รับพระคาถานี้ว่า - "บุคคล ไม่ชื่อว่าเป็นเณร เพราะมีผมหงอกบนศีรษะ ผู้มีว่านครอบแล้วนั้น เราถือว่า 'แก่เปล่า' (ส่วน) ผู้ใด มีผิวจะ ธรรมะ อึงลา สัญญะ และเทมะ ผู้มีจิตแล้ว ผู่มีมตินอบนอบแล้ว ผู้มีปัญญา เราถือว่า "เป็นเณร.." [แก่อธรรรถ] บรรดาบทเหล่านี้ บ่งว่า ปริปโก ควาว่า อนุราน้อมไปแล้ว คือถือความเป็นคนแก่แล้ว บทว่า โมมจินโณ ควาว่า ชื่อว่าแก่เปล่า เพราะภายในไม่มีธรรม เครื่องทำให้เป็นเณร บทว่า สตูญา ความว่า กัปดูคนคงมิส่งอร ่ เพราะความเป็นผู้แทงตลอดด้วยอาการ ๑๖ และมีโลภธรรรร ๘ อย่าง เพราะความเป็นผู้ทำให้เจ็บด้วยญาณ คำว่า อิสิลา นั้น สําคัญเป็นหัวข้อเทศนา อธิบายว่า อัปปมัญญาวนาเม้ เอง มีอยู่ในผู้ใดดี สองบทว่า สุนฺมโ ทโม ได้แก่อิสแลและอินทรีย์ส่งวรร บทว่า วนฺตุโล คือนิผลกินอันนำออก แล้วด้วยบรรญาณ บทว่า สิริ คือ สมบูรณ์ด้วยญาณเป็นเครื่องทรงจำ บทว่า เถโร ความว่า ผู้ผู้นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า "เณร"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More