พระอิฐมบัณฑูรภาค ๑๓ – หน้า 214 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 216
หน้าที่ 216 / 254

สรุปเนื้อหา

บทเรียนนี้เน้นถึงความสำคัญของการอดกลั้นและการไม่ตอบโต้ต่อคำล่วงเกิน โดยชี้ให้เห็นถึงความเข้มแข็งและความอดทนของผู้ที่สามารถประสบความสำเร็จได้โดยไม่ต้องตอบสนองในทางลบ ซึ่งสอดคล้องกับบทบาทของช่างใหญ่ที่พัฒนาตนเองเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต การยอมจำนนต่อคำพูดหรือการกระทำของผู้อื่นอาจนำไปสู่ความไม่สงบ ซึ่งจำเป็นต้องมีความอดทนเพื่อรับมือ หากต้องการไปสู่ตำแหน่งสูงในสังคม ซึ่งบ่อยครั้งจำเป็นต้องมีการควบคุมอารมณ์

หัวข้อประเด็น

-บทความเกี่ยวกับการอดกลั้น
-การรับมือกับคำล่วงเกิน
-การพัฒนาตนเองในสถานการณ์ต่างๆ
-คุณค่าของความอดทน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค – พระอิฐมบัณฑูรภาค ๑๓ – หน้า 214 บทว่า อติวุฒิยู่ ความว่า ซึ้งคำล่วงเกิน ที่เป็นไปแล้วด้วย สามารถแห่งอนิริโยทคะ ๘. บทว่า ติติภุญฺฐ ความว่า ช่างใหญ่เนื่องฝึกหัดดีแล้ว เข้าสู่ สงคราม เป็นตัวอันนุชา ไม่รีรั้งรั้งซึ่งลูกศรที่ลอดจากแสงตกกทีดน ชื่อว่า ย่อมทนทานต่อการประทานทั้งหลาย มีประทานด้วยอกเป็นต้น ได้ ฉันใด เราจักอดกลั้น คือจักทนทานคำล่วงเกิน มีรูปลักษณะนั้น ฉันนั้นเหมือนกัน. บทว่า ทูลสิโล ทิ ความว่า เพราะ โลกมหาชนนี้เป็นอันมาก เป็นผู้ทูลสิ ซึ่งบ่อยปล่อยคำอธิบายดีด้วยอำนาจแห่งความชอบใจของตน, การอดกลั้น คือการงามเฉย ในถ้อยคำนัน เป็นภาระของเรา. บทว่า ลมิต ความว่า ถึงทั้งหลาย เมื่อจะไปสู่มหาคล มหาชน ในสมาคมสถาน เมืองยามและสนามกีฬาเป็นต้น เทียโม หรือว่าที่ฝึกแล้วเท่านั้นเข้าแทนนแล้ว ย่อมมาไป. บทว่า ราชา ความว่า แม้พระราชา เมืองจะเสด็จไปสู่ที่แห่งปาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More