พระธรรมปทุมจิตกถาแปล ภาค ๓ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 121
หน้าที่ 121 / 254

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ พระศาสดาอธิบายถึงการตัดกิเลสเปรียบได้กับการตัดต้นไม้ในป่า โดยเน้นให้ผู้ปฏิบัติตัดสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุถึงความสุขและการพ้นทุกข์ พระองค์เน้นว่าหากไม่ตัดกิเลส ท่านจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงภัยที่เกิดจากความคิดที่ไม่ถูกต้องได้ การเข้าถึงธรรมจึงต้องมีความตั้งใจที่เด็ดเดี่ยวและมุ่งมั่นในการปฏิบัติสมาธิและรู้เท่าทันกิเลสในใจ.

หัวข้อประเด็น

-การตัดกิเลส
-การปฏิบัติธรรม
-หลักคำสอนของพระพุทธเจ้า
-การหลีกเลี่ยงภัยจากความคิด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปทุมจิตกถาแปล ภาค ๓ - หน้าที่ 119 อัศจรรย์ คือ รกะ โทะทะ และโมนะ จึงถึงทุกนี้ การที่พวกเธอตัดป่านเสีย ควร พวกเธอจักเป็นผู้หมดทุกข์ได้ด้วยอาการอย่างนั้น" แล้วได้ทรงภูมิปัญญาคาหลักนี้ว่า :- "ท่านทั้งหลายจงตัดกะลุดุจดวงไฟ อย่าตัดต้นไม้, ภัยยอดเกิดแต่กะลุดุจดวงไฟ ภิญฑุ้งหลาย ท่าน ทั้งหลาย จงตัดกะลุดุจดวงไฟ และดูหมู้มไม้ตั้งอยู่ ในป่าแล้ว เป็นผู้ไม่มีกะลุดุจดวงไฟเกิด; เพราะ กะลุดุจดวงไมตั้งอยู่ในป่า ถึงมีประมาณนิดหน่อย ของนรชน ยังไม่ขาดในนรีทั้งหลายเพียงใด, เขาเป็นเหมือนลูกโคที่ยังกินน้ำนม มีปฏิพันธะใน มาตรด่านั้น" [แก้.id] บรรดาเปล่านั่น กล่าวว่า มา รุกฆ์ ความว่า เมื่อองค์พระศาสดา ตรัสว่า "ท่านทั้งหลายจงตัดป่า ภิญฑุ้งนั่นผู้บังคับไม่มากนะ ความคิดในความเป็นผู้ใดจะตัดดั้นไม่ว่าจะ" พระศาสดา ย่อมให้พวกเรืื่อมิดเป็นต้นตัดป่า;" เมื่อเป็นเช่นนั้น พระศาสดา เมื่อจะทรงห้ามภิญฑุ้งนั่นว่า "เราพูดคำนั้น หมายเอาป่า คือกิเลส มีจะเป็นต้น (ต่างหาก), มีได้พูดหมายเอาต้นไม้ จึงตรัสว่า "อย่าตัดดั้นไม้." บทว่า วันโต ความว่า ภัยแต่สัตว์ร้ายมีสีจะเป็นต้น ย่อมเกิด จากป่า ตามปกติ ฉันใด; แม้ถิยะชาติเป็นต้น ย่อมเกิดจากป่า คือสัส
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More