พระมาลัยปฐมคำแปลภาค ๑ - บทที่ 7 เรื่องพรหมคำ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 254

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ พระศาสดาได้ตรัสเกี่ยวกับพรหมคำที่ประสงค์ให้พระองค์เรียกตนว่า 'ภิกขุ' โดยอ้างอิงถึงสมณโคดมที่เรียกสาวกเป็นภิกขุ และอธิบายว่าความหมายของคำนี้คือการสมาทานธรรมะเพื่อเติบโตในจิตวิญญาณ. การมีคุณค่าทางจิตใจเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ปฏิบัติธรรมนั้นต้องพิจารณา.

หัวข้อประเด็น

-เรื่องพรหมคำ
-ความหมายของภิกขุ
-พระธรรมคำสอน
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระมาลัยปฐมคำแปลภาค ๑ - หน้า 81 ๗. เรื่องพรหมคำใดคนหนึ่ง* [๑๖๐๐] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อปรัชญอยู่ในพระนครวัน ทรงปรารภพรหมคำ คนใดคนหนึ่ง ตรัสพระธรรมกถาว่า "น เตน ภิกขโล โหติ" เป็นต้น. [พรหมคำอยากให้พระศาสดาเรียกตวามภิกขุ] ได้ยินว่า พรหมคำนี้นับในกลิ่นธยานอกเที่ยวภิกษายอยู่ คิด ว่า "พระสมณโคดมเรียกสาวกของตนว่า ภิกขุ," การ ที่พระสมณโคดมเรียกแม่ว่า "ภิกขุ" คือต้อง," เขาเจ้าไปเฝ้าพระ ศาสดา ทูลว่า "ข้าแต่พระโคดมเจริญ แม้ข้าพเจ้ากำเที่ยวภิกษายา เลี้ยงชีพอยู๋ พระองค์จึงเรียกแม้ข้าพเจ้า ว่า ภิกขุ" [ลักษณะภิกษุและผู้มาใช้ภิกขุ] กล่าวนั่น พระศาสดา ตรัสสะพรหมคำนันว่า "พรหมคำ เราท่านเรียกว่า 'ภิกขุ' เพราะเหตุที่ขอคน พวกอื่นหามได้ บุคคลสมาทานธรรมนั้นเป็นผู้เดียว*น"# * พระมาหาเขม ป. ช. ๓ วัดมหาธาตุ แปล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More