ธรรมะและความเข้าใจในชีวิต พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 43
หน้าที่ 43 / 254

สรุปเนื้อหา

พระศาสดาได้ตรัสกับอานนท์เกี่ยวกับความไม่สามารถของสัตว์ในการฟังธรรม เนื่องจากตัณหาที่มีอยู่และความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง อธิบายถึงความสำคัญของการหลีกเลี่ยงอารมณ์ร้ายเช่นราคะ โทสะ และโมหะ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงความรู้ในธรรมะ ผู้ที่ต้องการเรียนรู้ควรมีจิตที่บริสุทธิ์และเปิดใจเพื่อฟังและน้อมรับความรู้.

หัวข้อประเด็น

-พระศาสดา
-อานนท์
-ธรรมะ
-ความทุกข์
-จิตใจที่บริสุทธิ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคตร-พระจ๊ะแป้บแปล ปีที่ ๑ หน้า 41 พระศาสดา. ถูกแล้ว อานนท์. อานนท์ เพราะเหตุไร ? พระเจ้าบ้า. พระศาสดา. อานนท์ ว่า “พุทธโม” ดีดี ”ธมฺโม” ดีดี ‘สุขโม’ ดีดี อันสัตว์เหล่านี้ไม่เคยตื่นบแล้ว ในแสนกลบ แม้เป็น อนฺนก: เพราะฉะนั้น สัตว์เหล่านี้ จึงไม่สามารถฟังธรรมนี้ได้: แต่ ในสงสาร มีที่สุดอันใคร ๆ ตามรู้ไม่ได้ สัตว์เหล่านี้ ฟังจริงจานกุลา มืออย่างต่าง ๆ นั้นแหละ: เพราะฉะนั้น สัตว์เหล่านี้ จึงเที่ยว บ่นร้องฟ้องร่าอยู่ ในที่ทั้งหลายโรงดื่มสาราและสนามเป็นที่เล่นเป็น ต้น, จึงไม่สามารถจะฟังธรรมได้. อานนท์, บ้านแต่พระองค์ผู้เจริญ อุบาสกทั้งหลายนัน อะไรยอะไร จึงไม่สามารถ ? ลำดับนั้น พระศาสดา ตรัสแก่พระอานนท์นั้นว่า “อานนท์ อุบาสกเหล่านั้น อาศัยอะไร อาศัยอะไร อาศัยอะไร ตัณหา จิงไม่สามารถ. ชื่อว่ายไฟ เช่นกับด้วยไฟคือรา ไม่ม, ไฟใด ไม่แสดงแม้ซึ่งแก่ ย่อมไหม้สัตว์ทั้งหลาย , แท้จริง แม่ไฟยังถูกับปีพิพานดา ที่อาศัยความปรารถนาพระอาทิตย์ ๓ ดวง บังเกิดขึ้น ย่อมไหม้โลก ไม่ได้อะไร ๆ; เหลืออยู่เลยก็จริง, ถึงกระนั้น ไฟนั้น ย่อมไหม้ในบางคราวเท่านั้น,” ชื่อว่าสิ่งที่ไฟคือรา จะไม่ไหม้ ย่อมไม่มี : เพราะฉะนั้น ไฟสมอด้วยราคะดี ผู้ จับเสมอด้วยโทสะดี ข่ายเสมอด้วยโมหะดี ชื่อว่าสมอโลมว่าสมอ ด้วยตัณหาดดี ไมมีดังนี้แล้ว จึงทรัสพระองค์ว่า :-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More