ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระจุฬปทุรุกาแปล ภาค ๓ - หน้าที่ 171
ให้เกิดทุกข์ คือให้ลำบากเพื่อจะอยู่ครอบครองเพราะเหตุนี้แหละ.
บทพระคาถาว่า ทุกโบสมาสลาวโล ความว่า จริงอยู่ ชนะ
เหล่าใดเป็นกุศลแก่ แม้สมบนโดยชาติโดด รตะกุล และโภคะ
ก็ตาม เป็นบรรพดี สีมอกันโดยคุณทั้งหลาย มิสโล อาจจะและ
พาหลัวจะเป็นต้นกัน (แต่) กล่าวคำเป็นต้นว่า "ท่านเป็นใคร ?
เราเป็นใคร ? " เป็นขวนขวายในอธิษฐานอยู่ ชนเหล่านั้น ชื่อว่าผู้ไม่
สมบัติ, ส่อว่า การอยู่ร่วมกับชนเหล่านั้น เป็นทุกข์.
บทพระคาถาว่า ทุกขาบนปดิทุรุก ความว่า ชนเหล่าใด
ชื่อว่าผิดทางไกล เพราะความเป็นผู้ดำเนินไปสู่ทางไกล กล่าวคือ
วัฏฏะ ชนเหล่านั้น ถูกทุกข์ติดตามแท้.
สองบทว่า ตญฺญา มน ฑฺญา ความว่า แม้ความเป็นผู้อนทุกข์คิด
ตาม ก็เป็นทุกข์ แม้ความเป็นผู้นำทางไกล ก็เป็นทุกข์ เพราะฉะนั้น
บุคคลไม่พึงเป็นผู้ชื่อว่าเกิดทางไกล เพราะการเดินทางไกล กล่าวว่า
วัฏฏะ คือ ไม่พึงเป็นผู้อันมีปรากฏดังกล่าวแล้วติดตามด้วย
ในกาลขบวนทศา กิณฑุนั้นขือหน่วยในทุกที่พระองค์ครัสใน.
ฐานะ ๕ แล้ว ทำลายสังโยชน์เป็นเบื้องต่ำ ๕ อันเป็นส่วน
เบื้องสูง ๕ ดำรงอยู่ในพระอรหัตแล้ว ดังนี้แหละ.
เรื่องภิกขุวัจฉบุตร จบ.
๑. อีกนัยหนึ่ง อาถีตี คเปฺทุ ทุกขา แปลว่า คือ การอยู่ครอง (เรือน) ชื่อว่าให้
ลำบากเพราะเหตุนี้แหละ.
๒. สักกายทิฎฐิ วิจิตฺฉนา สีลพผรามาส กมารคา ปฏิมา ตา รูปาอะ อุปปา
มานะ อุทธัจจะ อวิชา.