พระธัมมปฏิโกษะ (แปล ภาค ๓) - หน้าที่ 109 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 111
หน้าที่ 111 / 254

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงการสนทนาระหว่างพระมหาเถรและพระอุปเณรเกี่ยวกับการสร้างกรรมและอภิญญา รวมถึงผลของมันที่มีต่อจิตใจและการทำใจในปัจจุบัน การสาธยายของพระมหาเถรนั้นมีความสำคัญต่อการเข้าใจธรรม ด้วยการทำใจให้เกิดความสงบและหลีกเลี่ยงการต่อสู้กับความเป็นจริง. ท่านพบว่าความคิดในการพูดหรือไม่พูดมีน้ำหนักกับกรรมที่เกิดจากการกระทำในอดีต ข้อคิดที่สำคัญในบทนี้คือการสำรวจจิตใจและการก้าวผ่านผลกรรมที่ติดตัวมา

หัวข้อประเด็น

-การทำใจ
-กรรมและอภิญญา
-พระมหาเถรและพระอุปเณร
-จิตใจและความสงบ
-บทสนทนาภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมมปฏิโกษะ(แปล ภาค ๓) - หน้าที่ 109 ได้" ในคนเหล่านั่น คนที่ได้บ่าใจนั่งเสีย, ส่วนคนฉลาดคิดว่า "ชื่อว่าความพลังพลออะไร" ของท่านผู้อธิษฐานทั้ง ๒ เราทั้งหลาย ไม่เคยเห็นสินค้าอปลาประมาณนี้, ภัยมึติก็ขึ้นแก่พระผู้เป็นเจ้า ทั้ง ๒ นั้น คงเกิดฉันเพราะอาศัยพระธรรมกถุนี้" แล้วได้เป็นผู้ ถึงความเสียใจ. พระมหาเถรแม่เหล่านั่น ไม่ใช่ความสบายใจในที่ ไปแล้ว. พระมหาเถรคิดว่า "โอ! กรรมของภิกษุหนีก" (เพราะ) เธอได้พูดอะภิญญา ผู้ธิษฐาน ที่ตามเห็นแล้วก็เดี๋ยวว่า 'ท่านอย่าได้ทำการ คบหากันพระมหาเถระ" ถึงพระอุปเณรรอุนี้ได้ค่ะ "โอ! กรรมของพระมหาเถรหนีก" (เพราะ) ท่านได้พูดอะภิญญาอุปธรรม อันคนเห็นแล้วครูเดียวว่า อย่าได้ทำการครบากพระอุปเณรนี้." การสาธยายและการทำใจในปัจจุบันนี้ได้เสร็จภายใน ๑๐๐ ปี พระเถรทั้ง ๒ นั้นได้ไปสู่ภารตำแหน่งเดียวกันใน ปัจจิมิติ เสนาะอันเดียวกันนั่นแล ได้ถึงแก่พระเถรทั้ง ๒ นั้น. เมื่อพระมหาเถรเข้าไปนั่งบนเตียงแล้ว, แม้พระอุปเณรนอกนี้ได้ เข้าไป. พระมหาเถรพอเห็นพระอุปเณรนั้นจึงได้ไม่สามารถจะ อัดคลื่นน้ำได้ไม่งั้น. ถึงพระอุปเณรนอกนี้ ก็ถึงพระมหาเถรได้ มี นิยัตอันเต็มแล้วด้วยน้ำตา คิดว่า "เราจะพูดหรือไม่พูดหนอแล ?" แล้วคิดว่า "ข้ออันไม่ควรเชื่อ" แล้วให้พระเถร กล่าวว่า "ข้าแต่ ท่านผู้อธิษฐาน ผมถือบาตรและจิวรวของท่านได้เที่ยวไปตลอดกาลประมาณ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More