การรักษาตนและความสุขในพระธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 205
หน้าที่ 205 / 254

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการรักษาตนและความสำคัญในการไม่เข้าไปวุ่นวายกับสิ่งที่ไม่ควร การเปรียบเทียบระหว่างการรักษานครกับการรักษาจิตใจของมนุษย์ เน้นถึงการคุ้มครองทั้งภายในและภายนอก เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อจิตใจและความสงบสุขของตนเอง การมีสติและการตั้งมั่นกับอายตนะภายในถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตให้อยู่ในหลักของพระธรรม เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การรักษาตน
-ความสุขในชีวิต
-การป้องกันตนเอง
-ธรรมะและการทำความเข้าใจ
-อายตนะภายในและภายนอก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอิฐมปัณ์อธิฏฐานแปล ภาค ๓ - หน้าที่ 203 เพราะฉะนั้น พวกข้าพระองค์ จึงจำพรรษาหาความสำราญได้" จึงตรัสว่า "ช่างเถอะ ภิกขุทั้งหลาย พวกเธออย่าได้คิดเลย ธรรมดา ว่าความอยู่อยู่เป็นสุขสำราญตลอดกาลเป็นนิรันด์ อันบุตรลาได้กยก ธรรมวาคภูมิ รักษาด้วกภพนั้นแหละ เหมือนกับพวกมนุษย์เหล่านั้น คุ้มครองนครนั้น ย่อมควร" ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่ะ:- "ท่านทั้งหลายควรรักษาตน เหมือนกับพวก มนุษย์ป้องกันป้องกันตนเอง ทั้งภายนอกและภายใน ฉะนั้น, ท่านอย่าเข้าไปวุ่นวายทั้งหลายเลย; เพราะ ว่าชาวทั้งหลายผู้ล่วงเสียซึ่งขณะ เป็นผู้เบียดเสียด กันในนรก เคราะห์ใดก็ตาม!" [แปลอรรถ] บรรดาทบทเหล่านั้น นอกจาก สนุตพาหรี เป็นต้น ความว่าภิกษุ ทั้งหลาย ปัจจันตนกรนั้น อันมนุษย์เหล่านั้นช่วยกันทำที่มั่นทั้งหลาย มีประดูกและกุศโลบาย เช่นว่าให้มันในภายนอก เขาทำนี้มั่น ทั้งหลายมีป้องและกุศโลบาย เช่นว่าให้มันในภายนอก เพราะเหตุฉะนั้น ปัจจันตนกรนี้ จึงเป็นเมืองที่พวกมนุษย์ทำให้มันทั้งภายในทั้งภายนอก รักษาแล้วฉันใด ก็พวกท่านจงเข้าไปตั้งสติไว้ จงดูทวารทั้ง ๖ อัน เป็นภายใน ไม่ปลอดภัยซึ่งรัตนะทวาร ทำอายตนะภายใน ๖ เหล่านั้น ให้มัน ด้วยการไม่ถือเอาโดยประการที่อายตนะภายใน ๖ ซึ่งนี้คืออยู่ จะเป็นไปเพื่อจดอายตนะภายใน เสียฉะนั้นก็อยู่วะจะเป็นไปเพื่อจดอายตนะภายในเสีย ไม่ละสติที่รามาวา เพื่อไม่ให้ อายตนะภายนอกเหล่านั้นเข้าไป ประพฤติอยู่ ชื่อว่าจะรำตนไว้ฉันนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More