พระธรรมเทศนาชุดแปล ภาค ๑ - หน้า 106 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 108
หน้าที่ 108 / 254

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้เน้นการสนทนาระหว่างพระเถระและผู้ฟังธรรมที่มีความสงสัยเกี่ยวกับการพูดและการฟังธรรมกถา ขณะเดียวกันแสดงถึงความอ่อนโยนและสัมพันธภาพระหว่างพระเถระสองรูปกับพุทธศาสนิกชนที่มีความเคารพในการฟังธรรม. พวกเขายังคงหมุนเวียนการกล่าวธรรมในชุมชนที่มีการนิมนต์ให้ไปสอนและแสดงถึงการร่วมมือกันในการศึกษาธรรมและความคิดของพระเถระที่มีต่อการสื่อสารธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมกถาและการฟัง
-พระเถระและชุมชน
-ความอ่อนโยนในการสื่อสาร
-การร่วมมือกันในการสอนธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมเทศนาชุดแปล ภาค ๑ - หน้า 106 สัตบุรุษ ขอท่านจงกล่าวธรรมกถาแก่พวกผมเถิด." พระธรรมกถานั้น ก็กล่าวธรรมกถาแล้ว. พระเถระฟัง ๒ มีดุจเดียวว่า "พวกเราได้ พระธรรมกถิแล้ว" รุ่งขึ้นท่านเข้าไปปิ่นเกลี้ยงบ้านใกล้เคียง ทำ ถัดกิจเสร็จในบ้านนั้นแล้วกล่าวว่า "ท่านผู้อายุ ขอท่านจงกล่าว ธรรมกถาหน่อยจากที่ได้พักไว้ในวันวาน" แล้วมินตให้ท่าน กล่าวธรรมแก่พวกมนุษย์. พวกมนุษย์ฟังธรรมกถาแล้ว นิมนต์แม่เพื่อ ต้องการ (ให้ฉัน) ในวันรุ่งขึ้น. พระเถระทั้ง ๒ พาขณะธรรมกถีกัน เที่ยวบิดบาน ในบ้านเป็นที่นิยมกาย บ้านละ ๒ วันโดยรอบ อย่างนี้. พระธรรมกถิ กล่าวว่า "พระเถระ ๒ รูปนี้ เป็นผู้อ่อนโยน ยิ่งนัก, การที่เราให้พระเถระแม้ทั้ง ๒ รูปนี้ก็ไม่เสียแล้วอยู่ในวันนี้ ควร" ในตอนเย็นท่านไปสู่ที่บูรพะของพระเถระ ในเวลาที่กิริยาทั้ง ๒ ลูกไปแล้ว กลับเข้าไปพระมหากระทะแล้วดูว่า "ท่าน ผู้นั่งจริง เรื่อง บางอย่างที่ผมควรจะพูดมีอยู่," เมื่อพระมหาเถรกล่าวว่า "จงพูดเถิด ผู้มีอายุ," คิดหน่อ งหนึ่งแล้วพูดว่า "ท่านผู้จริญ" ขึ้นชื่อว่าการพูดมี โทษมาก ไม่พูดอะไร แล้วก็ลีบไป. พระธรรมกถิน ไปสำนักแม่ ของพระอรุณเถระก็ได้ทำอย่างนั้นเหมือนกัน, ในวันที่ ๒ ท่านก็ว่า อย่างนั้นเหมือนกัน. ในวันที่ ๓ เมื่อความรวนเรอย่างยิ่ง เกิดแก่ พระเถระทั้ง ๒ นั้นแล้ว, เข้าไปพบท่านแล้วพูดว่า "ท่าน ผู้จริญ คำบางอย่างที่ผมควรจะพูดมีอยู่, แต่ผมไม่อาจพูดในสำนักของ ท่านได้," ถูกพระเถระเร่าว่า "ไม่เป็นไร คุณ, จงพูดเถิด" ซึ่ง กล่าวว่าท่านผู้จริญ ก็ทำไม พระอนุเถระจึงไม่ถูกกับท่าน?"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More