พระธัมปิฏกฐากาแปล ภาค ๑: บทวิเคราะห์ความเป็นคนดี พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 79
หน้าที่ 79 / 254

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ความหมายของการเป็นคนดีตามคำสอนในพระธัมปิฏกฐากา โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการมีคุณธรรมและการหลีกเลี่ยงความตระหนี่ พร้อมทั้งกล่าวถึงลักษณะของคนที่มีคุณสมบัติดีในทางธรรม การอบรมและการพัฒนาจิตใจให้หลุดพ้นจากความตระหนี่ต่าง ๆ ที่กล่าวถึงในบทนี้ โดยยึดถือหลักธรรมที่เสริมสร้างชีวิตให้มีคุณค่า.

หัวข้อประเด็น

-บทวิเคราะห์ธรรมะ
-ความเป็นคนดี
-แนวทางการพัฒนาจิตใจ
-ความสำคัญของคุณธรรม
-แก่อรรถพระธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธัมปิฏกฐากาแปล ภาค ๑ หน้า 77 แล้ว ด้วยอรหัตผลกรรม ผู้มีแส่ชื่อว่าคุณดี ดังนี้แล้ว ได้ครัสพระคามเหล่านี้ว่า:- "พระผู้มีความเมียมีความตระหนี่ โอ้อวด จะชื่อว่านาคดี เพราะเหตุสุข้อว่าการพูดจาด้าน หรือเพราะมีอวิญญาณกามก็หาไม่, ส่วนผู้ใด ดัด โทษชาต มีความเมียเป็นต้นนี้ได้จาก ถอนได้ ให้รากฎ, ผู้นั้น มีเทะอันคาแล้ว มีปัญหา เราเรียกว่า “คนดี.” [แก่อรรถ] บรรดาคนเหล่านี้ ว่า: น วัฏฏกรมุตตน ความว่า เพราะเหตุว่ากำารพูด คือกล้าว่าด้อยดำอันถึงพร้อมด้วยลักษณะ. ว่า วรรณปญญาปรดาย ว่าเพราะความเป็นผู้ยิ้งใจให้อบอายโดยมีสีริระสมบูรณ์ด้วยวรรณะ. ว่า นริ เป็นต้น ความว่า นะผู้ใจร้ายในเพราะลากของคนอื่นเป็นต้น ประกอบด้วยความตระหนี่ ๕ อย่าง. อธิบาย: © ตระหนี่ ๕ อย่าง คือ อาวาสมังวิระยะ ตระหนี่ที่อยู่, กุศลงิระระ ตระหนี่สกุล. ลภ มังคิระ ตระหนี่ลาก. วัจนมังคิระ ตระหนี่วรรณ. ธัมมมังิระ ตระหนี่ธรรม.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More