การวิเคราะห์พระคาถาในพระปิยามปฏิทิน พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 254

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์และอธิบายความหมายของพระคาถาในพระปิยามปฏิทิน โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจในศีลธรรมและผลกระทบจากการกระทำต่างๆ การเปรียบเทียบระหว่างธรรมและความชอบธรรม รวมถึงการระบุถึงความผิดที่เกิดจากการหลงผิดและการนำบุคคลอื่นไปสู่ความผิดโดยไม่ยุติธรรม หนังสือยังเผยให้เห็นถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าในด้านปัญญาและธรรมที่คุ้มครองบุคคล

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์พระคาถา
-การตัดสินในศีลธรรม
-การกระทำที่ถูกและผิด
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-ปัญญาและธรรม
-ความชอบธรรมในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระปิยามปฏิทินถามแปลภาค ๑ หน้า ที่ 65 จริงอยู่ ผู้ได้ตั้งอยู่ในความพอใจ" กล่าวว่าสววาด ย่อมทำบุญหรือมิตร ของตนซึ่งมิใช่เจ้าของนั้นแล ให้เป็นเจ้าของ ตั้งอยู่ในความชัง" กล่าว ย่อมทำในศีลของตนซึ่งเป็นเจ้าของจริงไม่ให้เป็นเจ้าของ ตั้งอยู่ในความหลง รับสินบนแล้ว ในเวลาตัดสิน ทำเป็นเหมือนส่งจิต ไปในที่อื่น แลูกุ้งโนและช่างนี้ กล่าวเท็จ ย่อมนำบุคคลอื่นออกด้วยคำว่า "ผู้ชำนา, ผู้นี้แพ้," ตั้งอยู่ในความกลัว" ยอมยกความ ชนะให้ผู้เป็นใหญ่บางคน นั่นแม่ก็ถึงความแพ้ ผู้นี้ชื่อว่าร่มนำคดี ไปโดยพลาผัน ผู้ค้านไม่เป็นผู้ชั่วตัวอยู่ในธรรม. บทพระคาถ่าว่า ใโย อตุ๋น อนาคตญ ความว่า ซึ่งเหตุ ที่จริงและไม่จริง. สองวา่า อุโภ ฉินฉอย ความว่า ส่วนผู้ในเป็นบันเทิด วิจินฉัยที่เป็นคดีและไม่เป็นคดีทั้ง ๒ แล้วขอว่า. บทว่า อาสนาน คือ โดยไม่กล่าวเท็จ. บทว่า ธมฺมนม แปลว่า โดยธรรมเครื่องวินิจฉัย คือ หาใช้โดยอาณาจิต มีฉนาทกิติ เป็นต้นไม้. บทว่า สมนฺ คือ ย่อม่นำบุคคลเหล่าอื่นไป คือ ให้ถึง ความชำนะหรือความแพ้โดยสมรรถแก้วความผิดนันเอง. สองบทว่า ธมฺมสุข คุตโต ความว่า ผู้น้อยธรรมคุ้มครอง แล้ว คือ อันธรรมรักษาแล้ว ประกอบแล้วด้วยปัญญาอันรุ่งเรืองในธรรม ชื่อว่า มีปัญญา พระผู้พระภาคตรัสว่า ผู้ต่ำอยู่ในธรรม เพราะเป็นผู้ต่ำอยู่ในธรรมเครื่องวินิจฉัย. ๑. ฉันทกิติ ๒. โทษาคดี ๓. โมทกิติ ๔. ภาวติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More