ลักษณะบุคคลผู้ตั้งอยู่ในธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 7 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 254

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการตีความและนิยามว่าสิ่งใดที่ทำให้บุคคลถือว่าตั้งอยู่ในธรรม โดยมีการแยกระหว่างผู้ที่พิจารณาอย่างละเอียดกับผู้ที่ตัดสินโดยผลผลัน และการตีความคำสอนของพระอัครมปฏิสังขรณ์ในเรื่องนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดงถึงความสำคัญของการมีปัญญาในการตัดสินความ.

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะบุคคลที่ตั้งอยู่ในธรรม
-ความสำคัญของการพิจารณาอย่างละเอียด
-การตีความคำสอนในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคง - พระอัครมปฏิสังขรณ์แปล ภาค ๑ หน้า ที่ 64 [ลักษณะบุคคลผู้ตั้งอยู่และไม่ตั้งอยู่ในธรรม] พระศาสดา ตรัสว่า "ภิกษัทั้งหลาย พวกเขาหามาด้วยวินิจฉัยเป็นผู้ถูกอกเป็นจิตเป็นดำ ตัดสินความโดยผลผลัน ไม่ชื่อว่าเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ส่วนพวกที่ใส่วนความผิดแล้ว ตัดสินความโดยละเอียดลออ ตามสมควรแก้วความผิดนั้นแหละ เป็นผู้ชื่อว่าดังอยู่ในธรรม" ดังนี้แล้ว ได้ตรัสพระกาถาเหล่านี้ยาว่า :- "บุตรไม่ชื่อว่าตั้งอยู่ในธรรมเพราะเหตุที่นำผลไป โดยความผุนผลั่น ส่วนผู้ได้เป็นบัณฑิต วิจัยฉ คดีและไม่ใช่คดีทั้ง ๒ ย่อม่นบุคคลเหล่าอื่นไป โดยความละเอียดออ โดยธรรมำาเสมอ ผู้ นันอัตธรรมคุตรงแล้ว เป็นผู้มีปัญญา เรากล่าวว่า "ตั้งอยู่ในธรรม." [แก้ธรร] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า เตน แปลว่า เพราะเหตุเพียงเท่า นันเอง. ทมมุจโจ ความว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในธรรมเครื่อง วิจฉัย ที่พระเจ้าแผ่นดินทั้งหลายจะทรงกระทำด้วยพระองค์ไม่ เป็นผู้ชื่อว่าตั้งอยู่ในธรรม. บทว่า ยัน แปลว่า เพราะเหตุใด. บทว่า อุตุ ความว่า ซึ่งคดีที่หยั่งลงแล้วอันควรตัดสิน ส่องบทว่า สถา นย ความว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในคดี มินิทากาคดีเป็นต้น ตัดสินโดยผลผลัน คือโดยกล่าวเท็จ. อธิบายว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More