มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า 6 มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 6
หน้าที่ 6 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเคารพในความเป็นพระศาสดา ธรรม และสงฆ์ โดยเน้นถึงการปฏิบัติตนในการเคารพตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้กล่าวถึงความเป็นอยู่ของภิกขุที่มีความเคารพในพระธรรมและการทำความเคารพในปฏิบัติธรรม ทั้งยังมีการอธิบายถึงนิพพานและการไม่ประมาทในธรรมวินัย พร้อมกับการเข้าใจหลักการสำคัญภายใต้บรรทัดฐานของพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การเคารพในพระศาสดา
-การเคารพในพระธรรม
-การเคารพในพระสงฆ์
-ความสำคัญของสิกขา
-การรักษาความไม่ประมาท
-แนวทางการปฏิบัติในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า 6 [๒๖๕] อรรถกถาอภิวาณสูตร ในจัตุกฺกภารวค ปฐมปัณณาสก์ ในฉัฏกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า " บรรดาความทั้ง ๓ นั้น การทำความเคารพบพระศาสดา สื่อว่า สตุตุวรรค. ความเคารพในโลกุตตรธรรม ๘ อย่าง กล่าวว่า ธมฺมหารวตฺต. ความเคารพในพระสงฆ์ กล่าวว่า สงฺภูวรรค. การทำความเคารพในสิกขา ๓ สื่อว่า สิกขาวารต. ความเคารพบในความไม่ประมาท กล่าวว่า อปปมาทารวตฺต. ความเคารพบปฏิบัติในธัมม ๒ อย่าง ตัวสมารธรรมและอามิส. สื่อว่า ปฏิสัญญารวตฺต. พิธีทราบวินิจฉัยในคาถา ดังต่อไปนี้ ภิกขู กล่าวว่า สตุตุครู เพราะพระศาสดาเป็นที่เคารพ ภิกขู กล่าวว่า ธมฺมครู เพราะมีพระธรรมเป็นที่เคารพ ทูลว่า ดิษฐานวโร คือ มีความเคารพกันแน่น. ภิกขู กล่าวว่า ปฏิสัญญารวตฺตา เพราะมีความเคารพบในปฏิสัญญา." อรรถกถาอภิวาณวรรคว่่า "บทความว่า อภุโฑปริหาย ความว่า ภิกขุนั้น คือผู้ที่บุคคลนั้น เป็นผู้ไม่บารมีเพื่อจะเสื่อมทรามจากธรรมคือสมาธิและวิปัสสนา หรือจากมรรคและผล คือ ว่า จะเสื่อมจากมรรคและผลที่ตนบรรลุแล้วก็ทำไม่ได้ ทั้งจะไม่บรรลุ มรรคผลที่ตนยังไม่บรรลุก็ทำไม่ได้. นอกจากนี้ว่า นิพพานสุขา สุนตกฺต ความว่า ย่อมเป็นในที่ใกล้แม้แหล่งกสิณนิพพาน แม้แหล่งอุปฏาปปิรินิพพานโดยแท้." ๑. มโน. ปู. ๑/๒๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More