ข้อความต้นฉบับในหน้า
๙. ประโยค๙ - มังสีลลักฏิปีนี้เปนปลด เล่ม ๕ - หน้าที่ ๑๘๖
[๔๑๓] ภิกษาสพาสูตร ในมูลปิฎกว่าสว่า " ขันธ์ ดีว่า อธิวาสนา เพราะเป็นเครื่องอดกลั้น คืออดทนแห่งบุคคล ได้แก่ อกิจนะ อันเป็นไปโดยการคืออดทนต่อหนาวเป็นต้น หรือได้แก่ กุศลขันธ์ ๔ มือโทสะนั้นเป็นประธาน"
" ขันธ์นั้นด้วย เป็นเครื่องอดกลั้นด้วย เพราะเหตุนี้ จีชื่อว่า อธิวาสนขันติ "
" ขันธ์นี้ด้วย เป็นเครื่องอดกลั้นด้วย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า อธิวาสนขันติ "
ส่วนในภิทกุฏฏกนบด อังคุตตรนิกาย ท่านกล่าวว่า " ความอดทนความอดกลั้นเป็นลักษณะ อัธิวาสนา"
[๔๑๔] อรรถกถาสพาสูตรว่า " ขันธ์นี้ ยอมอดกลั้น คือ ยอมหยุดนิ่งซึ่งธรรมชาติมีความหนาวเป็นต้น ให้อุ่นเหนือนิดที่เดียว ได้แก่มนุษย์ไม่อดกลั้น สลัดเสมหาได้ เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ควาามอดกลั้น "
ภิทกาสพาสูตรนี้ว่า " ขนติอึดอัดนธรรมชาติมีความหนาวเป็นต้น ที่เท้ามาถึงแล้ว ยอมนเป็นประหนึ่งว่ากให้ความหนาวเป็นต้น เหล่านั้นอยู่เหนือตน เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อโรคฏวา วาสติยว
บทว่า น นิรุตติ คือ ไม่กังวล คีติภูติ ไม่พักความหนาวเป็นต้น, ผู้ชั้น ยอมนราวกับว่าสลัด คือ อดทนอยู่ซึ่งความหนาวเป็นต้นนั้น "
ด้วยอาทิพศัพท์ในบทว่า สีตภโย นี้ ท่านถือเอาจริงจังหลาย มีทุกขวบวนอันบังเกิดแต่ความร้อน สัมผัสแห่งเหลือบ งู ลม แคด สัตว์เลื้อคลาน ความหวีระหาย และคำเป็นคลงที่เกล่าวชั่วเป็นต้น
๑. ป. สุ. ๑๑๐๐