ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ - มังคลดึกฺขา. หน้า ๑๑
บิดา แก้ไขไว้ว่าขอรับผู้รับใช้กุม ยกลพระราชา และแก้วพิโร บ ควร
เพราะว่า เมื่อส่วนเลิศอันกุฎีบต้องแล้วให้ พระราชาและพวกโจก
ย่อมทำความฉิบหายบ้าง ให้ลากความคืบชีวิตบ้าง เมื่อส่วนเลิศอันกุฎีบ
มิได้บิดต้องให้ไป พระราชาและโจกเหล่านี้น้อมฟังใจ. ก็คำบทำ
อามิสปฏิสันถารนี้ ควรแสดงเรื่องทั้งหลายมีเรื่องพระเจ้าโจกนากเป็นต้น.
การสงเคราะห์ด้วยธรรมอย่างนี้คือ การให้อุทเทส การพรรณนาบาลี
การบอกธรรมโดยเคารพ สิว่า ชมปฏิสันถาร.
ภูฏกสังขิตสุดตรูนวลว่า "โลกัสนิวาสเป็นช่องตัวเหตุ ๒ อย่างคือ
ด้วยอามิสอันคนไม่ได้ ๑ ด้วยธรรมอย่างนั้น ๑. กิริยาปก คื อ การปิด
ได้แก่ การอุดช่องอึ คือ ที่แตก ร้าว อันมีอยู่ในระหว่างคนและบุคคล
อื่น เพราะไม่ได้อามิสและธรรม สิว่า ปฏิสันถาร.
สองกว่ า อุตุ ออกฤทฺถา ได้แก่ ไม่ถือเอาส่วนเลิศเพื่อคน.
การแสดงบาสีและอรรถถาว่า การให้อุทเทส. การพรรณาเนื้อ
ความแห่งบาสี สิว่า การพรรณาบาลี. การกล่าวธรรมด้วยสามารถแห่ง
วิธีมิกว่าว่าด้วยเสียงและกล่าวว่าด้วยบทเป็นต้น สิว่า การบอกรัชธรรม."
[๒๑] แต่ในนีแบนอันว่า พระธรรมสนานติ ก็ได้กล่าวไว้
ว่า "ในมติคำที่ยกขึ้นตั้งไว้นั้น ปฏิสันถารเป็นไฉน ? ปฏิสันถารมี ๒
อย่าง คื อ อามิสปฏิสันถาร ๑. ชมมปฏิสันถาร ๑. บุคคลบางคนใน
โลกนี้เป็นผู้ตอนรับด้วยอามิสปฏิสันถารบ้าง ด้วยธรรมปฏิสันถารบ้าง ขี้
พระผู้พระภาคตรัสว่า ปฏิสันถาร" ๑๑ อภิรมุล ๑๔/๑๓๓๓.