เรื่องเกี่ยวกับอรหันต์และความโกหก มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 91
หน้าที่ 91 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงเรื่องอรหันต์และตัวอย่างของบุคคลที่โกหก ซึ่งตั้งอยู่ในศาลใกล้ต้นไทร โดยมีคนทั่วไปให้ความสนใจและสอบถาม เขาแสดงตนอย่างผู้มีศักดิ์ศรี แต่กลับถูกเปิดเผยความจริงและต้องหนีไป เรื่องนี้สื่อถึงความผิดของการใช้คำพูดเพื่อหลอกลวงผู้อื่น และเน้นความสำคัญของการแสดงความจริง สิ่งเหล่านี้ถูกกล่าวถึงในบริบทของศาสนาพุทธและคำสอนที่พบในอรรถถาก ซึ่งชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของการไม่หลอกลวงและการเป็นผู้ที่มุ่งมั่นในทางที่แท้จริง.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของอรหันต์
-ตัวอย่างความโกหก
-การปรารถนาในสังคม
-บทเรียนจากอรรถถาก
-การสื่อสารในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕ - มึงคลึกกี้นี้แปล เล่ม ๔ หน้า ที่ 91 ทั้งหลาย ย่อมไปสู่ที่ ๆ ตนปรารถนา ๆ." เรื่องอรหันต์ผสม จบ. [เรื่องอรหันต์อ่านในร] [๓๒] คนโกหกอีกคนหนึ่ง อยู่ในบรรดาศาลใกล้ลูกหนึ่ง ข้างหลังบรรดาศาลาของเขานั้นแล มีต้นไทรอยู่ต้นหนึ่ง ย่านของมันยืน ไปตั้งอยู่ในแผ่นดินส่วนอื่นอีก. มนุษย์ทั้งหลาย ไปตามทางแล้วย่อม นิมนต์ตนโกหกมันกัน. เขาถือบาตรและวีรลงไปตามผ่านไทร แสดงตนที่ ประตูบ้าน. มนุษย์ทั้งหลายมากหลัง ถามว่า "ท่านผู้เป็นเจริญ ท่านมาโดย ทางไหน ?" เขาแสดงความที่ตนเป็นจุดพระเจนผ์ ด้วยคำว่า "ชื่อว่าทางมาของสมณะทั้งหลาย ไม่ควรจะถม,สมณะทั้งหลายย่อม มาสู่ที่ ๆ ตนปรารถนา ๆ นั่นแล." ครั้งนั้น อุบาสกคนหนึ่ง คอจับ เห็นเขาไปตามย่านไร แล้ว ด่าน่ำไทรข้างหลัง เหลือไว้โดยประมาณเล็กน้อย. คนโกหก ไม่มีหนดนั่น ลงไปตามย่านไร ตกลงแล้ว. มาตรสินแตกแล้ว. เขาคิดว่า "มนุษย์ทั้งหลายรู้ (เรื่อง) เราแล้ว" จึงออกแล้วหนีไป. เรื่องอรหันต์อ่านในร จบ. ส่วนความผิดการในเรื่องนี้ พึงถือเอาจากอรรถาถากฐทุกทวิวงค์ เกิด. กล่าวว่าด้วยเรื่องแห่งความเป็นผู้ปรารถนาลามก จบ. [๓๓] ในอรรถถากทั้งหลาย พระอรรถถาจารย์ แสดงแม้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More