บทความว่าด้วยอาจารย์ ๔ จำพวก มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 118
หน้าที่ 118 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงอาจารย์ ๔ จำพวก ตามที่พระพุทธโกศาจารย์กล่าวไว้ในฎีกาโลกตฺถก การจำแนกประเภทอาจารย์ประกอบด้วย ปิยพจารย์, อุปสัมปทาจารย์, นิสสยาจารย์ และ อุตเทสาจารย์ ที่มีบทบาทสำคัญในการเรียนการสอนรวมถึงการสร้างสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับศิษย์ ซึ่งมีความหมายในทางธรรมที่ลึกซึ้ง และช่วยในการพัฒนาความรู้และปัญญาของผู้เรียน.

หัวข้อประเด็น

-อาจารย์ ๔ จำพวก
-บทบาทของอาจารย์ในพระพุทธศาสนา
-การสอนธรรมและการเรียนรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 5 - มังคลัตถิทิปิเปนปล เล่ม ๕ หน้าที่ 118 ปฐมาวิตติ เพราะความที่ อุปชฌาน ศัพท ประกอบในติยาวิตติเป็นต้น ไม่ได้." [๓๖๓] ผู้ซื้อว่า อาจารย์ เพราะอันสิ่งนี้แสดงพฤติ เช่นอิ้อี้. อาจารย์นั้น มี ๔ จำพวก. เหตุนี้ในฎีกาโลกตฺถก (ถกแสดงความกังวลด้วยญาติ) ในปราจฉฺวิเศษชื่อว่าวิสุทธิธรรม พระพุทธ- โฆษาจารย์ จึงกล่าวเนื้อความว่า " อาจารย์ ๔ จำพวก คือ ปิยพจารย์ ๑ อุปสัมปทาจารย์ ๑ นิสสยาจารย์ ๑ อุตเทสาจารย์ ๑." ก็รับรองอาจารย์ ๔ จำพวกนี้ อาจารย์ผู้สอนธรรม ชื่อว่า อุตเทสาจารย์ เหตุนัน ในฎีกามหาขันธ์ พระฎีกาจารย์ จึงกล่าวไว้ว่า " อาจารย์ผู้สอนหลักพังทลาย นี้ชื่อว่า ปิยพจารย์. อาจารย์ผู้สอนกรรมวรรคาในการอปสมมบท นี้ชื่อว่า อุปสัมปทาจารย์. อาจารย์ผู้ให้อนุทเทสหรือปริวรรรณา นี้ชื่อว่า ธรรมาจารย์." ส่วนอาจารย์ผู้กำนันนั่งกระโยงในที่ใกล้ กล่าวคำอนุสัย ๓ ครั้งว่า " ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของผม. ผมจะอยู่ คงค่ายท่านผู้มีอายุยืน ดังนี้ นี้ชื่อว่า นิสสยาจารย์. [๓๖๗] ก็ในว่า อนุตตลิผลวิลิศริต นี้ พิงราม วินิจฉัยดังนี้: สามเณรและภิกขู้ผู้ถือพระอุปฺชฌามูปสมบ คำว่า นิสสยในสำนักของภิกขุว่า " ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงเป็นอุปชฌามะของผม" ดังนี้ ภิกษุนันชื่อว่า เป็นพระอุปฌามะของสามเณรและ ภิกษุเหล่านั้น, เธอเหล่านั้น เป็นสิทธิวิริยาริก ของภิกษุผู้ทรงอุปฌามะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More