มังคลดิถีและอรรถกาถในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 100
หน้าที่ 100 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงมังคลดิถีในพระพุทธศาสนา สะท้อนแนวคิดเกี่ยวกับความเมตตาของภิกขุและการให้ความรู้แก่ผู้คน รวมถึงการปฏิบัติตนอย่างมีสมาธิในการศึกษาธรรมเพื่อประโยชน์สูงสุดของชุมชน เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการสื่อสารธรรมแก่คนในชนบท โดยมุ่งหวังให้เกิดผลดีทางธรรม และแก้ไขปัญหาความไม่เข้าใจในหมู่ประชาชน.

หัวข้อประเด็น

-มังคลดิถี
-อรรถกาถ
-พระพุทธศาสนา
-ความเมตตา
-ธรรมในการดำเนินชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลดิถีที่เป็นเปล่า เล่น ๔ หน้า ๑๐๐ [๑๔๕] อรรถกาถสูตรสูตรว่า " ภิกขูผู้มีความเมตตาใน ปะรีติ แม้เป็นผู้ทรงพระใคร่ปิฎก ก็ไม่ประสงค์จะให้ใคร รู้ว่าตนเป็น พุทธสุด เหมือนพระศาสะเณราชามืองสักตะนัน" อรรถกาถกเอกิบา อ้างคุณรินทาเป็นคำว่า " ได้ยินว่า พระ เณร คิดว่า ขะไม่มี ไม่ทำโอากสด ในอุทานและปริจฉา อัน ศิษยั้งหลายตักเตือนว่า ท่านผูเจริญ ท่านจ๋าได้ขนจะเป็นที่บริสุทธิ เมื่อไร ?" จึงจะคะไปสู่วิหารใกล้สงสุทธิมีรายขวนดอกกัญจิก เป็นผู้มีอุปการะแกักกุเณร ผู้ใหม่ และปานกลาง ในวิหารนั้น ตลอดภายในพรรษา ในวันอุโบสถ วันมาหาวันนา ยังชนชาวชนบท ให้เอิกเกริกด้วยธรรมดา แล้วก็ไป ภิกขุเอกินาถอธิษฐานอธิษฐานว่า " สองเท่า อุปโภ รุ ฐูยา ความว่า เป็นผู้อุปกา ระด้วยการเรียนและสอบถามเป็นต้น ด้วย สามารถปริยัติธรรม สองเท่า ชนใด โบกดุความว่า ยัง มาหานผู้ประชุมให้เอิกเกริกแล้ว ด้วยสามารถรังขนให้ซั้น และ ให้สาธุการ และยกท่อมฉันนี้เป็นต้น และยังมหาชนอีกนิดให้กระอ่อน ด้วยสามารถโกลาหลว่า อย่างไรหนอเอน ? เราเจ้าได้ฟังธรรมใน สำนักงานพระผู้เป็นเจ้า. ถ้าว่า พระเณรฟังปรารถนาจะให้มหาชนรู้ ว่าตนเป็นพหสูตร พระเณรยังชาวชนบทให้กระอ่อนกล่าวธรรมใน เบื้องต้นก็เดียว บทว่า คโต ความว่า " พระเณรไปแล้วนอนอุทน (ขึ้น) เทียม เพราะความที่ตนเป็นผู้มีความมั่นคงในปรีดิ์ โดย ๓ สุ ข วิ ๓/๓๓๑. ๒. มโน ปุ.๔/๔๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More