ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๔ - มังคลัตถาทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๘๕
นั่น มีเรื่องเหล่านี้ (เป็นอุทาหรณ์)
[เรื่องกิริยาหนุ่ม]
ได้ยินว่า กิญญหนุ่มผู้หนึ่ง ชอบขนมเปี๊ยะ ครั้งนั้น มารดาวของเธอ จะทดลองการปฏิบัติ คิดว่า "ถ้าครูของเราจับประมาทในการรับใช้ เราจักถวายขนมแกเธอ ตลอดโตรามตั้งสิ้น" ในวันเข้าพรรษา ได้ถวายขนมอันหนึ่งก่อน เมื่อเธอฉันจนบอันนั้นแล้ว ได้ถวายอันที่ ๒ เมื่ฉันอันที่ ๒ นั้นแล้ว ได้ถวายอันที่ ๓ กิญญหนุ่มไม่พูดว่า "พอละ" (ได้แล้ว) ฉันเท่านั้น มารดูก็วามที่เธอไม่รู้จก ประมาณ คิดว่า "ขนมสำหรับไตรมาสทั้งสิ้น อนุรุของเรานั้นในวันนั้นเท่านั้น" ตั้งแต่วันที่ ๒ แม่ขนมอันหนึ่ง ก็ไม่ได้ถวาย. เรื่องกิญญหนุ่ม จบ.
[เรื่องพระเจ้าสละ]
[๒๔๔] มา พระเจ้าสิมหราช เมื่อจะถวายทานแกุก้มสงฆ์ ในเดือยบรรพทุก ๗ วัน อนาชชนบนกราบทูลว่า "ฉันแต่มหาราช ทำไมพระองค์จึงทรงคบแต่เฉยๆเท่านั้น พระองค์จะถวายทานในที่อื่น จะไม่ควรหรือ?" ในวันที่ ๒ รับสั่งให้ถวายภารทาน ในเมือง-อนุราชบุรีแล้ว.
แม้กิญญุรูปหนึ่ง ย่อมไม่รู้จักประมาณในการรับ. ขนทียะและโภชนียะ ที่กิญญุรูปหนึ่งๆ รับประเคนแล้ว ๒-๓ คนจึงยิ่งขึ้นได้. ในวันที ๒ พระราชา รับสั่งให้บิณฑบาตในเดือยบรรพในเวลา กิญญุเหล่านั้นถึงพระราชวัง จึงตรัสว่า "ท่านทั้งหลายจงให้