ความอดทนและขันติในพระธรรมคำสอน มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 175
หน้าที่ 175 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความอดทนหรือขันติในพระพุทธศาสนา กล่าวถึงการอดกลั้นและไม่ให้ความสนใจต่อความผิดพลาดของผู้อื่น รวมถึงอุทาหรณ์ในการใช้ชีวิตของพระโพธิสัตว์ที่มีความอดทนต่อการทนทุกข์และอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก ข้อความที่มีความหมายลึกซึ้งเกี่ยวกับการอดทนต่อสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวเป็นหลักการสำคัญเพื่อการเจริญเติบโตในทางธรรม. รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวของพระมหามนีและการดำรงชีวิตด้วยความอดทนในพุทธประวัติ.

หัวข้อประเด็น

-ความอดทน
-ขันติ
-พระโพธิสัตว์
-อรรถกถา
-ประวัติพระมหามนี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มั่งคลีดทีป็นแปล เล่ม ๕ - หน้าที่ ๑၇๕ ถาว่า ด้วยความอดทน* [๕๐๕] ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า "ภูมิผู้ประกอบด้วยความอดทน คือความอดกลั้นใจ ยอมเป็นผู้ไม่มีการผิดแปลก เป็นประหนึ่งว่าไม่ยิน และเป็นประหนึ่งว่าไม่เห็นบุคคลผู้ด้วยอัคโกลสติ ๑๐ หรือผู้เมียในเนื้อในผู้อื่นว่าการมาจะเป็นดังนี้ คู่นั้นวิวาทบลบะนั้น ย่อมทำไว้ในใจโดยความเป็นผู้เจริญ เพราะความไม่มีความผิดยิ่งไปกว่านั้น ดูท่านพระปุณฑระขณะนั้น ความอดทนคือความอดกลั้นนั้น ชื่อว่า ขันติ." [๕๐๖] บรรดาอุทาหรณ์ทั้ง ๒ เรื่องนั้น จะกล่าวถึงฉันติวาที- ดามาส ดังต่อไปนี้:- [เรื่องฉันติวาที ดำ] ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์ เป็นพระมหามนีชื่อ คุณทะ ในกรุง พาราณสี บวงเป็นดาบสอยู่ในหิมวันตรประเทศเป็นเวลานาน เพื่อจะ เสพของเค็มและของเปรี้ยว จึงไปสู่กรุงพาราณสี อันเสนาบดีบริจุ่ง พักอยู่ในพระราชอุทยาน ต่อมาวันหนึ่ง พระราชา ทรงพระนามว่า คณะนิวัล เสนานัต มินามาเสียพระสติ มีพวกนักฟ้อนน้องน้อม ล้ม ไปสู่พระราชอุทยาน ได้ทรงนิมนตรา ทอดพระเกียรลงบัศกของหญิงซึ่งเป็นที่รัก และพอ พระทุกข์คนหนึ่ง. * พระมหานาม อุบาสิโป ป. ช. ๖ วัดบรมวิหาร แปล ๑. ปรวัดดิโชติภา ทุกกบทุปาวันา ๖๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More