ความมิดีในเบื้องหน้า มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 121
หน้าที่ 121 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาวิเคราะห์เกี่ยวกับการดำรงชีวิตของบุคคลที่มีคุณธรรม โดยเน้นถึงบทบาทของความมิดีในเบื้องหน้า พระผู้มีพระภาคได้วิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของบุคคลในบริบทต่างๆ ว่าถือการเป็นผู้มีดี จนถึงแนวความคิดที่บุคคลอาจมีความรุ่งเรืองแม้เกิดในระกูลต่ำ ทั้งนี้ ยังว่าถึงแนวทางวิเศษที่ช่วยให้เข้าใจถึงความสำคัญของการประพฤติปฏิบัติ อิงสาระจากพระธรรมที่ช่วยส่งเสริมคุณธรรมในชีวิต และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาเมื่อมีความมิดี

หัวข้อประเด็น

-ความมิดีในเบื้องหน้า
-บทบาททางศีลธรรม
-ความสำคัญของความรู้เรื่อง
-การวิเคราะห์คุณธรรมและจริยธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕ - มังคลัจจําปีนี้เล่น ๔ - หน้า ๑๒๑ ว่าตีณ ทุจริตานี ปรนุปติน นี้ พระอรรถถกอาจารย์ ย่อมแสดงความที่บุคคลนั้นเป็นผู้มีความมิดีเป็นที่ไปในเบื้องหน้า ในสองบท นอกนี้ พึงทราบเน้อความตามแนวแห่งที่กล่าวแล้ว เพราะถึงความเป็นผู้ปรากฏ [๓๑๐] อรรถกาถํติวิวร ในโกศลสัจจุ และอรรถกถา ทุกข้อความในบทก็ดังอังคาส์ ในฤตำกนิบาดอังคุตตรนิกายว่า "บุคคลชื่อว่า ตโม เพราะประกอบด้วยความมิดี มีเกิดในระกูลต่ำในภายหลังเป็นต้น ชื่อว่าเป็นผู้มีความมิดีในเบื้องหน้า เพราะเช้าถึงความมิดีใน นรกอีก ด้วยกายจตุริเป็นต้น แม้ด้วยขอบทั้ง ๒ ดังว่ามนี้ พระผู้มะพระภาคตรัสความมิดีแห่งขันธ์นั้นเอง บุคคลผู้ประกอบด้วยความ รู้เรื่อง มีเกิดในระกูลต่ำในภายหลังเป็นต้น ชื่อว่า โชติ อธิบายว่า เป็นผู้ส่างไสว ชื่อว่า เป็นผู้มีความรุ่งเรืองเป็นต้นในเบื้องหน้า เพราะเช้าถึงความรุ่งเรืองคือเกิดในสวรรค์อีก ด้วยกายสุรินเป็นต้น ฯ ภูฎิกิดิยวร ในโกศลสัจจุเป็นต้นนั้นว่า "ชื่อว่า เป็นผู้มีดีเพราะเป็นผู้ราว่าว่า มิดี เพราะความไม่ปรากฏ เหตุมีเกิดในระกูลต่ำ ในภายหลังเป็นต้น บุคคลชื่อว่า มิดี เพราะประกอบด้วยความมิดี นั้น ท่านกล่าวว่าไวหารามีดวงของบุคคล เพราะประกอบด้วยความมิดี เหมือนอุตุหร่วว่า บุคคลชื่อวิมีความตระหนี่ เพราะประกอบ ด้วยความตระหนี่ เหตุนั้น บทว่า ตโม จึงมีชื่อตองว่า เป็นผู้มีดี คือวากระทำความเป็นคนบ่อย เกิดแล้ว เพราะความไม่ปรากฏ หรือว่า ลิงความลั้งในความมิดี ชื่อว่า เป็นผู้มีความมิดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More