มังคลัตถีนิปล: ปัญจวรรรณุปมปิณณาสก์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 162
หน้าที่ 162 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงมังคลัตถีนิปล เล่ม 4 โดยมีการพูดถึงคาถาและบทคำธรรมที่ช่วยบรรลุมรรค พร้อมทั้งอธิบายถึงการฟังธรรมจากผู้มีอุปนิสัยและกรณีศึกษาของนิครนธในกรุงเทพฯ สะท้อนว่าสติปัญญาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และความสำคัญในการฟังธรรมเพื่อการเข้าถึงความจริงทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

- การฟังธรรม
- อุปนิสัยกับการบรรลุมรรค
- บทเรียนจากนิครนธ
- ธรรมคาถาในมังคลัตถีนิปล
- ความสำคัญของการศึกษาธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 5 - มังคลัตถีนิปลเป็นปลด เล่ม 4 หน้า 162 ในปัญจวรรรณุปมปิณณาสก์ ในกิตินิบาต องค์ครรินิยม. [๒๔๕] ฐิติฐานสูตรนี้ว่า "บทว่า คาถาสุกัสสุ" คือ มีคาถา พันหนึ่ง. บทว่า ปฏฐานคาถาย ความว่า ด้วยคาถาเริ่ม คือ ด้วย คาถาดั้น. ชื่อว่าปฏฐานคาถา เพราะคาถานี้เริ่มแรก. ภคุหนุ่ม นั้น กำหนดธรรมคาถาที่พระเทระกล่าวไว้ระหว่างแห่งคาถาดั้นและคาถาปลายทั้ง ๒ ( ท่ามกลาง) ไม่ได้ เพราะความเป็นผู้มีกายเนื้อหนังหนอ. บทกถจัดเป็นธรรมคาถาในเวลานั้น. บทว่า ปุณณชาติ ความว่า ผู้หญิงนั้น ทำให้ประจักษ์ รับเอาอยู่ ได้แก้ ฟังโดยแครพ. [๓๖] การฟังธรรมของบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ย่อมเป็น เหตุบรรลุมรรคในท tincผม, ควรประกะนี้, ส่วนบุคคลผู้ เว้นจากอุปนิสัย ย่อมเป็นเหตุให้บรรลุมรรคในอนาคต. ก็ในอันนี้ มีคำอุปนิสัยเป็นต้น เป็นอุทารณ: [เรื่องสัจจนิครนธ] ได้ฟังว่านิครนธชื่อ สังกะ ในกรุงเทพฯ เป็นบัณฑิต มีว่า ฉลากยังพระราชมาณทั้งหลายให้สานังอิศละ อยู่. ในครั้งนั้น เขากล่าวว่า "ท้องของเรี้งแตก เพราะเติมมักด้วยปัญญา" จิรัดท้องด้วยแผ่น เหล็ก เที่ยวไปอยู่. แม้ว่าคือคิ้วสะสนะ ก็เป็นชื่อของนิครนธนั้น เหมือนกัน. วันหนึ่ง เขาเข้าไปฝ่าพระศาสดา ได้ฟังจุตจากสูตร รุ่งขึ้นอีกวันหนึ่ง เข้าไปฝ่า ได้ฟังมหาสัจสูตร. สูตรเหล่านั้นอยู่ในฎุตถวรรค. มูลนิครนธ.]
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More