นางกาพีและความโกรธของนางเวเทหา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 201
หน้าที่ 201 / 239

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวนี้กล่าวถึงนางกาพีที่เป็นทาสหญิงขยันและความสัมพันธ์กับนางเวเทหาที่เป็นเจ้าของซึ่งมีอารมณ์โกรธอยู่ภายใน นางกาพีทดลองที่จะวัดความโกรธของนางเวเทหาหลังจากที่เธอลูกขึ้นในเวลาสาย นางเวเทหาจึงสอบถามถึงความไม่สบายและแสดงความโมโห ซึ่งนำไปสู่การที่นางกาพีถูกทำร้ายจนศีรษะแตกและต้องกล่าวโทษนางอื่น ๆ อย่างเช่นนางที่อยู่ใกล้เคียง ในที่สุดชื่อเสียงที่ไม่ดีของนางเวเทหาก็เริ่มเผยแพร่ไปทั่ว. โปรดติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ภูมิหลังของเรื่อง
-ความสัมพันธ์ระหว่างทาสและเจ้าของ
-การแสดงออกทางอารมณ์ของนางเวเทหา
-ผลกระทบจากความโกรธ
-การทดสอบความโกรธในความสัมพันธ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค : มังคลค้าที่ยืนเปล่า เล่ม ๕ หน้า ๒๐๑ ได้มีทาสินหนึ่งชื่อ กพี เป็นหญิงขยัน ไม่มีจอร้าร้าจัดแจงงานดี. ท่าสินั้น คิดว่า "แม่เจ้าของเรา ย่อมไม่ทำความโกรธซึ่งมีอยู่ให้ปรากฏหนอ หรือว่าความโกรธไม่? ถ้าครัย เราพิงทดลองแม่เจ้าดังนี้แล้ว จึงลูกขึ้นในเวลาสาย. นางเวเทหา. ชะ นางกาพี ทำไมเจ้าลูกขึ้นในเวลาสาย? เจ้ามีความไม่สบายนรือ? นางกาพี. แม่เจ้า ดินไม่มีความไม่สบายนอะไร. นางเวเทหา กล่าวว่า "เหม" ถ้าเจ้าไม่มีความไม่สบอะไร เพราะเหตุไร เจ้าจึงลูกขึ้นสายเล่า? อาทิตย์สีวัว " จึงโกรธน้อยใจ ได้ทำหน้็นว. ที่นั่น นางกาพี คิดว่า "ความโกรธมีอยู่ ณ ภายในของแม่เจ้าของเราเท่านั้น, มีใช่ไหม, ถ้าครัย เราพิงทดลองให้มาดังนี้แล้ว ไปดั่งนี้ ในวันรุ่งขึ้น จึงลูกขึ้นสายกว่าเก่า. นางเวเทหา ยิ่งโกรธหนักขึ้น ค่าว่าอากอหลอประดุ. ประหาสเข้าที่ศีรษะ. ศรีษะแตก. นางกาพี มีศีรษะแตก มีโลหิตไหลอาบ จึงโทษนางแม่ผู้อยู่ใกล้เคียงว่า "แม่เจ้าทั้งหลาย ขออกนางของมะระทำของหญิงผู้ลงเสียดมิด, แมเจ้าทั้งหลาย ขออกนางของมะระทำของหญิงผู้คล่ำตัวเด็ก, แมเจ้าทั้งหลาย ขออกนางของมะระทำของหญิงผู้ลงระงับเกิด." โดยกาลอึ่นจากนั้น กิดติศัพท์อันชั่วของนางเวเทหา ก็ฟุ้งจอไปอย่างนี้ว่า "นางเวเทหา กูร้าย นางเวเทหา ไม่อ่อนได้ตัว นางเวเทกา ไม่สงบระงับ."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More