ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ มังคัลงคนี้นี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๓๔
ไม่กล้าแข็ง ชื่อว่า องุรสาวดาว."
[๒๒๘] ความจริง แม้ใคร ๆ ( ก็ถาม ) เมื่อเห็นโทษแห่ง
ความเป็นผู้กระดาง ด้วยอำนาจความถือวัด พึงเป็นผู้มีความ
ประพฤติดีอ่อนตน ไม่กระด้าง เพราะว่า ความเป็นผู้กระด้าง เป็นเหตุ
แห่งความบิ่นหยาย." เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาค จึงตรัสว่า
"นะประได กระด้างโดยชาติ กระด้างโดยทรัพย์
และกระด้างโดยโคตร ย่อมดูหมิ่นสัญญาตนของ
กรรม ๔ อย่างของเรานั้น เป็นทางแห่งความ
เสื่อม." [ แก้อรรถ ]
อรรถากาปรวาคสูตรนี้ว่า " บรรดาบุคคล ๔ จำพวกนั้น
บุคคลผู้ให้มานะเกิดขึ้นว่า " เราสมบูรณ์ด้วยชาติก็ เป็นผู้พอจั้น
เหมือนสุขที่เต็มด้วยลม ไม่อ่อนน้อมต่อใคร ๆ ชื่อว่า ผู้กระด้างโดย
ชาติ. ในบุคคลผู้กระด้างโดยทรัพย์และโดยโคตร กันนี้ :
สองท่าว่า สัญญาติ อติญญาติ ความว่า ย่อมดูหมันมั่นถิ่นชาติ
ของตนโดยชาติก็ เหมือนพวกเจ้ากษัตริย์ ดูหมันพระราชาญามพระนาม
ว่า วิตุทุกะ ฉะนั้น, อนึง ย่อมดูหมันโดยทรัพย์ว่า " ผู้ฝืน เป็นคน
กำพร้า เข้ใจ" มิอาจทำแม้สักกาสามจิกรรม. ญาติกล่าวน่านั้นอ่อน
ปรารถนาความเสื่อมแก่เขา่าคืดเดียว. ด้วยกาณ์นี้ พระผู้มีพระภาค
ตรัสกรรม ๔ อย่าง ว่าโดยอัตถุว่า " เป็นปกกาแห่งความเสื่อมอย่างเดียว
๑. ขุนส. ๒๖/๑๓๔๓ ๒. ปฏิทัศ โชคิงา สุตนินาบาตวันนา ๑/๒๐๖.