การอธิบายเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์และพระยะบกแก้ตน มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 106
หน้าที่ 106 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงพระโพธิสัตว์ในอดีตที่เกิดเป็นพระยะบกแก้ตนในป่าไม้ ริมฝั่งคงคา เมื่อผลสิ้นสุดลง ท้าวสักกะทรงทดลองพระยะบกแก้ตนเพื่อเห็นว่าความเป็นผู้กินน้อยส่งผลต่อตนเองอย่างไร พระยะบกไม่เคยไปถึงที่อื่น แม้จะมีการทดลองจากท้าวสักกะ ผู้ทรงทราบเหตุการณ์นี้เป็นการแสดงถึงคุณสมบัติของการอยู่ในสถานที่ดียังทำให้มีคุณค่าชีวิตและความสุข เต็มไปด้วยแรงบันดาลใจจากการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายโดยไม่ทำลายธรรมชาติ.

หัวข้อประเด็น

-พระโพธิสัตว์
-การทดลองของท้าวสักกะ
-คุณค่าของการกินน้อย
-ความสำคัญของการไม่ย้ายถิ่นฐาน
-ธรรมชาติและความสุข

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลดำนี้มีนัยแปล เล่น ๔ - หน้าที่ ๑๐๖ กล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า เช่นกับคำว่าอเนรจร." [๒๓๙] เนื้อความว่า "อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุไม่สนโด ยอม เสื่อมจากทรัพย์บ้าง จากชีวิตบ้าง ผู้สนโด ยอมไม่เสื่อม" ดังนี้ พึง แสดงด้วยชูรวปนาขาด ในปฐมวรรค คติบังต. จริยอยู่ ทรัพย์ของ บุคคลผู้สนโด ยอมมาแล้ว ก็อ่อนมีปกติอีก ในข้อนั้น มีเรื่องนี้ (เป็นอุปหรณ์) [เรื่องพระโยนกแก้ตน] ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์ (เกิด) เป็นพระยะบกแก้ตน ใน ป่าไม้มะเดื่อ ริมฝั่งคงคา เมื่อผลแห่งต้นไม้ของตนหมดแล้ว ก็กลิ่นกิน หนอ ใบ เปลือก หรือกะเทาะซึ่งยังเหลืออยู่เท่านั้น แล้วดังน้ำใน แม่น้ำคงคา เป็นผ้ากันสั่นโดยอย่างเย็น ยอดไม่ไปในประเทศอื่น. ด้วยคุณแห่งความเป็นผู้กินน้อยสนโดยอย่างเย็น ยอมไม่ไปในประเทศอื่น ด้วยคุณแห่งความเป็นผู้กินน้อยสนโดยของพระยานกแก้วตั้นนั้น ภาพ ของท้าวสักกะไหวแล้ว. ท้าวสักกะ ทรงทราบเหตุนี้แล้ว เพื่อจะทรง ทดลองพระยานกแก้วตั้นนั้น ทรงยั้งต้นไม้แห่งไป ด้วยอุกภาพ ของพระองค์ ต้นไม้ ได้มีสักคำว่า ตอ เป็นช่องปรู เมื่อตอมพัด เปล่งเสียง ออกจากอุกเขา ได้ดังอยู่แล้ว. ขุฑทั้งหมด ไหลออก จากช่องของ ต้นไม้นั้น. พระยานกแก้ว ติกินยู่เหลา่นั้นไม่ไป ณ ที่อื่น ไม่ พรันพิงดอมและแดด จับอยู่บนปลายตอไม้จะเดือดแล้ว. ท้าวสักกะ ทรงเลื่อมใสติดเอาน้ำในแม่น้ำคงคามารดตไมันนั้น. ในทันใดนันเอง ต้นไม้ได้งึงพร้อมด้วยกิ่งและคงาม มีผลออยพูดขึ้นแล้วจน ๑. ชาตกฤกษก. ๔/๒๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More