การแปลประโยคที่ ๕๕ จากมังคลัตถที มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 59
หน้าที่ 59 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการแปลประโยคที่ ๕๕ ของมังคลัตถที ว่าด้วยการใช้ผ้าบังสุกุลในการบรรลุธรรม โดยมีพระมหาเถระที่เข้าใจถึงความบริสุทธิ์ของวัสดุ และผลงานในการเจริญวิปัสสนาที่นำไปสู่การบรรลุเป็นพระอรหันต์ เนื้อหายังกล่าวถึงการกระทำที่ถูกต้องในขณะที่ออกไปอธิษฐานและเข้าถึงวิปัสสนาในแนวทางของพระพุทธศาสนา. ขอเชิญอ่านที่ dmc.tv เพื่อรับชมเนื้อหาฉบับเต็ม.

หัวข้อประเด็น

-การบรรลุธรรม
-ความหมายของผ้าบังสุกุล
-การเจริญวิปัสสนา
-พระมหาเถระ
-การอธิษฐานและการแสงหา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๕ มังคลัตถทีนี่แปล เล่ม ๔ หน้า ๕๙ ถือเอาผ้าบังสุกุล ที่เขาเอ่ (สรีระ) นางปุณณทาสีทิ้งแล้ว จากป่าช้า ทรงทำกรรมที่ทำได้ฉวยอย่าแล้ว." พระมหาเถระ คิดว่า "ความศรัทธาของพระเถระผู้ก็ผังบังสุกุล เป็นวัสดุ บริสุทธิ์แล้ว." แม้พระเถระผู้ก็ผังสุกุลเป็นวัสดุ ก็ยืนอยู่ ณ ที่นั้นนั่นเอง เจริญวิปัสสนา บรรลุผลทั้ง ๓ แล้ว ถือเอาผ้าสุกุล ผืนนัน กระทำเป็นจิวร่มแล้ว ไปสู่จินต์จันทนทรวิหาร ได้บรรลุ พระอรหันต์เป็นผลที่ได้แล้ว. [๑๐๑] กิริยาที่ภูกุเมื่อจะไปเพื่ออธิษฐาน ไม่ค้อว่า "เรา จำได้ในที่ไหน ?" ไปโดยมีพระมุ่งมั่นฐานเป็นใหญ่เท่านั้น ชื่อวา คมสันโดน (สันโดนในการไป). ก็การภูกุเมื่อจะจะแสงหา (วิธี ) ไม่แสงหามัญญธรรมดา พากญูผู้มีความละอายมีศีล เป็นที่รักไปแสงหา ชื่อว่า ปริเสสนันโด (สันโดนในการแสงหา). การที่ภูกุแสงนำออยู่ดังนั้น เห็นวิจารที่ทยานามแม้ก็ไกล ไม่ตรีกอย่างนี้ว่า "วิจรนั้น จักเป็นที่ชอบใจ วิจรนั้น จักไม่เป็นที่ชอบใจ" แล้วยินดีว่าจิราที่หยาบหรือละเอียดเป็นต้น ที่ตณได้แล้ว อย่างไรเท่านั้น ชื่อว่า ปฏิลาเสสนันโด (สันโดนในการได้แสงพา). การที่ภูกุมแม้มืออถือเอจิราที่ตนได้แล้วอย่างนั้น ยินดีว่าจิราสึกว่า เพียงพอแก่ตนเองว่า "ผำมีประมาณเท่านี้ จักมีเพื่อจิราครบ ๒ ชั้น ผำมีประมาณเท่านี้ จักมีเพื่อจิราครั้งเดียว" ดังนี้เท่านั้น ชื่อว่า มัดต-ปฏิภูคาหลั่นโด (สันโดนในการถือเอาแต่พอดี). อันยัง การที่ภูกุแสงหาจาวอยู่ ไม่ผิดว่า "เราจำได้ว่าจรเป็นที่ชอบใจ ที่ประตูเรือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More